ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/รายการคำศัพท์

รายการคำกริยา

แก้ไข
คำศัพท์ ความหมาย บทที่
อักษรไทย อักษรละติน
อากฑฺฒติ ākaḍḍhati ลาก 5
อาคจฺฉติ āgacchati มา 1
อาททาติ ādadāti เอามา 5
อาหรติ āharati นำมา 2
อาหิณฺฑติ āhiṇḍati ท่องไป, เร่ร่อน 7
อารุหติ āruhati ขึ้น, ปีนขึ้น 2
อิจฺฉติ icchati ปรารถนา, ต้องการ 4
อุตฺตรติ uttarati ขึ้น (จากน้ำ) 7
อุปฺปตติ uppatati บิน; กระโดดขึ้น 7
โอตรติ otarati ลง 4
โอรุหติ oruhati ลง 2
กสติ kasati ไถนา 1
กีฬติ kīḷati เล่น 5
ขณติ khaṇati ขุด 2
ขาทติ khādati กิน 4
คจฺฉติ gacchati ไป 1
จรติ carati เดิน 7
ฉินฺทติ chindati ตัด 1
ชีวติ jīvati อยู่, มีชีวิต 7
ฑสติ ḍasati กัด 4
ตรติ tarati ข้าม (น้ำ) 7
ติฏฺฐติ tiṭṭhati ยืน 7
ททาติ dadāti ให้ 5
ธาวติ dhāvati วิ่ง 1
โธวติ dhovati ซัก, ล้าง 4
นหายติ nahāyati อาบน้ำ 5
นิกฺขมติ nikkhamati ออก, ออกเดินทาง 4
นิสีทติ nisīdati นั่ง 7
ปกฺโกสติ pakkosati เรียก 4
ปจติ pacati ทำอาหาร, หุง (ข้าว) 1
ปชหติ pajahati ยกเลิก, ละทิ้ง 5
ปตติ patati ตก 4
ปหรติ paharati ทุบ, ตี, ทำร้าย, โจมตี 2
ปสีทติ pasīdati ยินดี 7
ปสฺสติ passati เห็น, มอง, ดู 1
ปวิสติ pavisati เข้าไป 5
ปุจฺฉติ pucchati ถาม, ปุจฉา 4
ภาสติ bhāsati พูด 1
ภุญฺชติ bhuñjati กิน 1
หนติ hanati ฆ่า 4
หรติ harati ถือ, นำไป, หยิบไป, พาไป 2
หสติ hasati หัวเราะ 5
ยาจติ yācati ขอ 2
โรทติ rodati ร้องไห้ 5
รกฺขติ rakkhati ปกป้อง 2
ลภติ labhati ได้รับ, ได้ (ลาภ) 5
สนฺนิปตติ sannipatati ประชุม 7
สยติ sayati นอน 1
วนฺทติ vandati บูชา, ไหว้, กราบ, ทำความเคารพ 2
วสติ vasati อยู่, มีชีวิต 7
วิชฺฌติ vijjhati ยิง 2
วิหรติ viharati อยู่อาศัย 7

รายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยา

แก้ไข
ช = เพศชาย
ญ = เพศหญิง
ก = เพศกลาง
คำศัพท์ ความหมาย บทที่
อักษรไทย อักษรละติน
อช aja ช. แพะ 5
อมจฺจ amacca ช. อำมาตย์ 4
อสปฺปุริส asappurisa ช. คนชั่ว 7
อสฺส assa ช. ม้า 3
อากาส ākāsa ช. ท้องฟ้า 7
อาจริย ācariya ช. อาจารย์ 5
อาโลก āloka ช. แสง 7
อาวาฏ āvāṭa ช. หลุม, บ่อ 2
อุปาสก upāsaka ช. อุบาสก 4
โอทน odana ช. ข้าวสวย 2
กกจ kakaca ช. เลื่อย 3
กสฺสก kassaka ช. ชาวนา 1
กาก kāka ช. นกกา 7
กาย kāya ช. ร่างกาย; ตัว 7
กุกฺกุร kukkura ช. หมา 2
กุทฺทาล kuddāla ช. จอบ 5
กุมาร kumāra ช. เด็กชาย 1
ขคฺค khagga ช. ดาบ, ขรรค์ 3
คาม gāma ช. หมู่บ้าน 2
โคณ goṇa ช. วัวตัวผู้ 7
จนฺท canda ช. ดวงจันทร์ 2
โจร cora ช. โจร 3
ตาปส tāpasa ช. ฤๅษี, ดาบส 5
ทารก dāraka ช. เด็ก, ทารก 4
ทีป dīpa ช. เกาะ; ตะเกียง, ดวงไฟ 3
ทูต dūta ช. คนนำข่าว, ทูต 7
เทว deva ช. เทพ, เทวดา 7
ธีวร dhīvara ช. ชาวประมง 4
นร nara ช. คน; ผู้ชาย 1
นาวิก nāvika ช. นักเดินเรือ 7
นิวาส nivāsa ช. บ้าน 7
ปญฺห pañha ช. คำถาม, ปัญหา 4
ปณฺฑิต paṇḍita ช. ผู้รู้, ผู้มีปัญญา, บัณฑิต 3
ปาท pāda ช. เท้า, บาท 3
ปาสาณ pāsāṇa ช. หิน, ก้อนหิน 3
ปาสาท pāsāda ช. วัง, ปราสาท 4
ปิฏก piṭaka ช. ตะกร้า 4
ปุตฺต putta ช. ลูกชาย, บุตร 1
ปุริส purisa ช. ผู้ชาย 1
ตถาคต Tathāgata ช. พระพุทธเจ้า 1
ธมฺม dhamma ช. ธรรม, คำสอน; ความจริง 2
ปตฺต patta ช. ถ้วย, ชาม, บาตร 2
ปพฺพต pabbata ช. ภูเขา, บรรพต 2
พุทฺธ Buddha ช. พระพุทธเจ้า 1
พฺราหฺมณ brāhmaṇa ช. พราหมณ์ 1
ภตฺต bhatta ช. ข้าว 2
ภูปาล bhūpāla ช. พระราชา, กษัตริย์ 1
มกฺขฎ makkhaṭa ช. ลิง 5
มคฺค magga ช. ทาง, ถนน 3
มจฺฉ maccha ช. ปลา, มัจฉา 4
มญฺจ mañca ช. เตียงนอน 5
มนุสฺส manussa ช. มนุษย์ 1
มาตุล mātula ช. ลุง 1
มิค miga ช. กวาง 3
มิตฺต mitta ช. เพื่อน, มิตร 1
หตฺถ hattha ช. มือ, หัตถ์ 3
ยาจก yācaka ช. ขอทาน, ยาจก 2
รชก rajaka ช. คนซักผ้า 4
รถ ratha ช. รถ, ยานพาหนะ, รถม้า 3
รุกฺข rukkha ช. ต้นไม้ 2
ลาภ lābha ช. ลาภ, ผลประโยชน์ 5
ลุทฺทก luddaka ช. นายพราน 5
โลก loka ช. โลก 7
สกฏ sakaṭa ช. เกวียน 3
สกุณ sakuṇa ช. นก 7
สคฺค sagga ช. สวรรค์ 3
สปฺป sappa ช. งู 4
สปฺปุริส sappurisa ช. คนดี 7
สมณ samaṇa ช. ภิกษุ, สมณะ 3
สมุทฺท samudda ช. ทะเล; มหาสมุทร 7
สหาย sahāya ช. เพื่อน, สหาย 1
สหายก sahāyaka ช. เพื่อน 1
สร sara ช. ศร (อาวุธชนิดหนึ่ง) 3
สาฏก sāṭaka ช. เสื้อผ้า 4
สาวก sāvaka ช. ศิษย์, สาวก 3
สิคาล sigāla ช. แจ็กคัล (หมาจิ้งจอกทอง) 2
สีห sīha ช. สิงห์, สิงโต 5
สุก suka ช. นกแก้ว 4
สุคต Sugata ช. พระพุทธเจ้า 1
สุนข sunakha ช. หมา, สุนัข 2
สุร sura ช. เทพ, เทวดา 7
สุริย suriya ช. ดวงอาทิตย์, สุริยะ 2
สุว suva ช. นกแก้ว 4
สูกร sūkara ช. หมู, สุกร 4
โสณ soṇa ช. หมา 2
โสปาน sopāna ช. บันได 4
วราห varāha ช. หมู, สุกร 4
วาณิช vāṇija ช. พ่อค้า 1
วานร vānara ช. ลิง, วานร 5
วิหาร vihāra ช. วิหาร, โบสถ์ 2
เวชฺช vejja ช. หมอ 5

สารบัญ

แก้ไข
บทนำ - การอ่านออกเสียง
บทที่ 1 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ รูปเอกพจน์และพหูพจน์, การผันกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 2 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 3 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 4 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นต้นกำเนิด รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 5 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 6 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าของ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 7 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นสถานที่ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 8 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นคำร้องเรียก รูปเอกพจน์และพหูพจน์, การผันคำนามเพศกลางที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ
บทที่ 9 - การสร้างคำนามจากกริยา
บทที่ 10 - การผันคำกริยาเพื่อไม่ให้ระบุกาล
บทที่ 11 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน, การผันคำนามเพศชายและเพศกลาง
บทที่ 12 - การผันคำกริยาในกาลปัจจุบัน และบอกความเป็นผู้กระทำ
บทที่ 13 - การผันคำกริยาในกาลปัจจุบัน และบอกความเป็นผู้กระทำ (ภาคต่อ)
บทที่ 14 - การผันคำกริยาเพื่อบอกกาลอนาคต
บทที่ 15 - การผันคำกริยาเพื่อบอกความเป็นไปได้และคำแนะนำ
บทที่ 16 - การผันคำกริยาเพื่อบอกคำสั่ง
บทที่ 17 - การผันคำกริยาเพื่อบอกกาลอดีต
บทที่ 18 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อา
บทที่ 19 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น
บทที่ 20 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ และ อี
บทที่ 21 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน (ภาคต่อ), การผันคำนามเพศหญิง
บทที่ 22 - การผันคำกริยาเพื่อบอกความเป็นผู้ถูกกระทำในกาลอนาคต
บทที่ 23 - การผันคำกริยาเพื่อบอกการไหว้วานหรือการบังคับ
บทที่ 24 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อุ
บทที่ 25 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ
บทที่ 26 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อี
บทที่ 27 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อุ และ อู
บทที่ 28 - การผันคำนามของผู้กระทำกริยา และคำนามที่บ่งบอกความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
บทที่ 29 - การผันคำนามเพศกลางที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ และ อุ
บทที่ 30 - การผันคำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -วนฺตุ และ -มนฺตุ
บทที่ 31 - การผันคำสรรพนามบอกบุรุษ
บทที่ 32 - การผันคำสรรพนามบอกบุรุษ สรรพนามบอกความสัมพันธ์ สรรพนามบอกระยะ และสรรพนามบอกคำถาม
ภาคผนวก - รายการคำกริยาในภาษาบาลี, รายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยาในภาษาบาลี