วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/รัฐศาสตร์
กฎหมาย | การพยากรณ์ | กีฬา | เกม | คณิตศาสตร์ | คอมพิวเตอร์ | ตำราอาหาร | เทคโนโลยีสารสนเทศ | แนะนำการศึกษา | เบ็ดเตล็ด | แพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ | ภาษา | มนุษยศาสตร์ | วรรณคดี | วิทยาศาสตร์ | วิทยาการคอมพิวเตอร์ | วิศวกรรมศาสตร์ | ศาสนาและปรัชญา | ศิลปะ | สัตววิทยาและสัตวแพทยศาสตร์ | สูตรสำเร็จ
รัฐศาสตร์ (อังกฤษ: political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 จัดเป็นวิชาหนึ่งในสายสังคมศาสตร์ (Social Science) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ เช่น ปรัชญาการเมือง (political philosophy) ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นต้น แต่โดยทั่วไปแล้วรัฐศาสตร์จะประกอบไปด้วย 3 สาขาหลักเป็นอย่างน้อย ได้แก่
- 1. สาขาการปกครอง (government)
- 2. สาขาบริหารรัฐกิจ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
- 3. สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (international relation)
รายวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
แก้ไขผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษารายวิชาต่อไปนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาสำคัญซึ่งเป็นพื้นฐานหรือความรู้เบื้องต้นในสาขาต่าง ๆในรัฐศาสตร์ ดังนี้
- 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science)
- 2. การเมืองการปกครองไทย (Thai Political and Government)
- 3. ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
- 4. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น (Introduction to International Relations)
- 5. การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น (Introduction to public administration)
มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน
แก้ไขมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในหลักสูตรรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
เนื้อหาสาขาการปกครอง
แก้ไขเนื้อหาหลัก
แก้ไขในการศึกษาสาขาการปกครองผู้เรียนจำเป็นจะต้องศึกษาเกี่ยวความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครองก่อน เพื่อจะทำให้ผู้เรียนนั้นเข้าใจถึงบริบทเบื้องลึกทางการเมืองต่อไป
- 1. การปกครองเปรียบเทียบเบื้องต้น (Introduction to Comparative Government)
- 2. ทฤษฎีจริยธรรมทางการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Etics)
- 3. หลักธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง (Constitutional Principal and Political Institutional)
- 4. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ (Political Party and Interest Group)
- 5. กฎหมายปกครองและธรรมาภิบาลในภาครัฐ (Administrative Law and Governance)
- 6. การปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Administration)
- 7. การปกครองส่วนภูมิภาค (Regional Administration)
เนื้อหาสำหรับสาขาบริหารรัฐกิจ
แก้ไขเนื้อหาหลัก
แก้ไขการบริหารรัฐกิจเป็นการศึกษาแบบสหวิทยาการโดยการศึกษาจะครอบคลุมเนื้อหาในสาขาอื่น ๆ อาทิ การจัดการ จิตวิทยา วิทยาศาสตร์ รวมถึงกฎหมายต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารงานสาธารณะ โดยมีเนื้อหาหลักดังนี้
- 1. องค์การและการจัดการ (Organization and Management)
- 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ (Human Resource Management in Public Sector)
- 3. การวางแผนภาครัฐ (Public Planing)
- 4. นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
- 5. การบริหารงานคลังและงบประมาณ (Fiscal and Budjet Management)
- 6. กฎหมายปกครองและธรรมาภิบาลในภาครัฐ (Administrative Law and Governance)
เนื้อหาสำหรับสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
แก้ไขเนื้อหาหลัก
แก้ไขสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างประเทศ รวมถึงการศึกษาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนี้
- 1. การเมืองระหว่างประเทศ (International Politics)
- 2. เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ (International Political Ecomomics)
- 3. นโยบายต่างประเทศของไทย (Thai Foreign Policy)
- 4. องค์กรระหว่างประเทศ (International Organization)
- 5. ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations Theory)
- 6. ประวัติศาสตร์ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (History on International Relations System)
- 7. การทูต (Diplomacy)