ภาษาบาลี/สัพนาม
สัพพนามคือคำที่ใช้เรียกแทนคำนาม เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเอ่ยคำนามนั้นซ้ำๆ หรือใช้เรียกสิ่งที่ไม่ได้ต้องการจะออกชื่ออย่างชัดเจน
สัพพนามแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
- ปุริสสัพพนาม หรือบุรุษสรรพนาม คือคำพูดที่ใช้แทนตัวบุรุษบุคคล สัตว์ สิ่งของ ใช้เป็นคำหลักของนามวลี
บุรุษสรรพนามแบ่งเป็น บุรุษที่หนึ่ง, สอง และ สาม แต่ความหมายของแต่ละบุรุษในภาษาบาลีนั้น อาจจะต่างไปจากที่เราเคยเข้าใจในภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษดังนี้คือ- ปฐมบุรุษ (1st) หมายถึง ผู้ที่ไม่ใช่ผู้พูดและผู้ที่พูดอยู่ด้วย หรือแปลว่า เขา เรียกว่าเป็น ต ศัพท์
- มัธยมบุรุษ (2nd) หมายถึง ผู้ที่พูดอยู่ด้วย หรือแปลว่า เธอ เรียกว่าเป็น ตุมฺห ศัพท์ (ตฺวํ)
- อุตตมบุรุษ (3rd) หมายถึง ผู้พูด หรือแปลว่า ฉัน เรียกว่าเป็น อมฺห ศัพท์ (อหํ)
- วิเสสนสัพพนาม เป็นสรรพนามที่ทำหน้าที่ขยายนามเหมือนคุณนาม เพื่อบอกว่านามตัวไหนที่กำลังกล่าวถึงอยู่ เมื่อมันเป็นตัวขยาย ดังนั้นเวลาที่แจกวิภัตติ จึงต้องแจกให้มีวิภัตติเสมอกับนามที่มันขยายด้วย วิเสสนสัพพนามแบ่งเป็นสองประเภท
- นิยมสัพพนาม เป็นคำขยายที่เจาะจงบอกให้เห็นอย่างแน่ชัด ว่ากำลังกล่าวถึงนามตัวไหน ประกอบด้วย
- อิม ศัพท์ (อยํ) แปลว่า นี้
- เอต ศัพท์ และ ต คุณนาม แปลว่า นั้น
- อมุ ศัพท์ (อมุก คุณนาม, อสุก คุณนาม (อมุ คุณนาม + -ก ปัจจัย หรือ -ก สกรรถ)) แปลว่า โน้น
- อนิยมสัพพนาม เป็นคำขยาย ที่ไม่ได้บอก ไม่ได้แสดงให้เห็นแน่ชัดว่าสิ่งที่กล่าวถึงอยู่ที่ไหน พอจะแบ่งได้สองกลุ่ม
- ย ศัพท์ สำหรับกล่าวถึงอันใดก็ได้ ทั่วไป
- กึ ศัพท์ สำหรับใช้ในการถาม
- นิยมสัพพนาม เป็นคำขยายที่เจาะจงบอกให้เห็นอย่างแน่ชัด ว่ากำลังกล่าวถึงนามตัวไหน ประกอบด้วย
อย่างไรก็ตามในบางรูปประโยคของภาษาบาลี เมื่อนำ ต และ ย ศัพท์ มาใช้คู่กัน มันจะทำหน้าที่คล้ายกับเป็น นิยมสัพพนาม ได้
ปุริสสัพนาม (Personal Pronouns)
แก้ไขตารางวิภัตติสำหรับ ต ศัพท์ (เขา) (1st Person)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
โส | เต |
(n.) |
ตํ, นํ | เต, ตานิ | |
(f). (ลง -อา ปัจจัย) |
สา | ตา | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
ตํ, นํ | เต, เน |
(n.) |
ตํ, นํ | เต, ตานิ | |
(f). |
ตํ, นํ | ตา | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
เตน | เตหิ |
(n.) |
เตน | เตหิ | |
(f). |
ตาย | ตาหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
ตสฺส, อสฺส | เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ |
(n.) |
ตสฺส, อสฺส | เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ | |
(f). |
ตสฺสา, อสฺสา, ติสฺสา, ติสฺสาย | ตาสํ, ตาสานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
ตสฺมา, อสฺมา, ตมฺหา | เตหิ |
(n.) |
ตสฺมา, อสฺมา, ตมฺหา | เตหิ | |
(f). |
ตาย | ตาหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
ตสฺส, อสฺส | เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ |
(n.) |
ตสฺส, อสฺส | เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ | |
(f). |
ตสฺสา, อสฺสา, ติสฺสา, ติสฺสาย | ตาสํ, ตาสานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
ตสฺมิํ, อสฺมิํ, ตมฺหิ | เตสุ |
(n.) |
ตสฺมิํ, อสฺมิํ, ตมฺหิ | เตสุ | |
(f). |
ตายํ, อาสฺสํ, อสฺสํ, ติสฺสํ | ตาสุ |
ตารางวิภัตติสำหรับ ตุมฺห/ตฺวํ ศัพท์ (เธอ) (2nd Person)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) (f.) |
ตฺวํ, ตุวํ | ตุมฺเห, โว |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) (f.) |
ตํ, ตฺวํ, ตุวํ | ตุมฺเห, โว |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) (f.) |
ตยา, ตฺวยา, เต | ตุมฺเหหิ, โว |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) (f.) |
ตุยฺหํ, ตุมฺหํ, ตว, เต | ตุมฺหากํ, โว |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) (f.) |
ตยา | ตุมฺเหหิ, โว |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) (f.) |
ตุยฺหํ, ตุมฺหํ, ตว, เต | ตุมฺหากํ, โว |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) (f.) |
ตยิ, ตฺวยิ | ตุมฺเหสุ |
ตารางวิภัตติสำหรับ อมฺห/อหํ ศัพท์ (ฉัน) (3rd Person)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) (f.) |
อหํ | มยํ, โน |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) (f.) |
มํ, มมํ | อมฺเห, โน |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) (f.) |
มยา, เม | อมฺเหหิ, โน |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) (f.) |
มยุหํ, อมฺหํ, มม, มมํ, เม | อมฺหากํ, อสฺมากํ, โน |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) (f.) |
มยา | อมฺเหหิ, โน |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) (f.) |
มยุหํ, อมฺหํ, มม, มมํ, เม | อมฺหากํ, อสฺมากํ, โน |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) (f.) |
มยิ | อมฺเหสุ |
นิยมวิเสสนสัพพนาม (คุณนาม) (Demonstrative Pronouns)
แก้ไขตารางวิภัตติสำหรับ อิม ศัพท์ (นี้)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
อยํ | อิเม |
(n.) |
อิทํ | อิมานิ | |
(f). |
อยํ | อิมา | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
อิมํ | อิเม |
(n.) |
อิทํ, อิมํ | อิมานิ | |
(f). |
อิมํ | อิมา | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
อิมินา, อเนน | อิเมหิ |
(n.) |
อิมินา, อเนน | อิเมหิ | |
(f). |
อิมาย | อิมาหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
อิมสฺส, อสฺส | อิเมสํ, อิเมสานํ |
(n.) |
อิมสฺส, อสฺส | อิเมสํ, อิเมสานํ | |
(f). |
อิมิสฺสา, อิมิสฺสาย, อสฺสา | อิมาสํ, อิมาสานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
อิมสฺมา, อิมมฺหา, อสฺมา | อิเมหิ |
(n.) |
อิมสฺมา, อิมมฺหา, อสฺมา | อิเมหิ | |
(f). |
อิมาย | อิมาหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
อิมสฺส, อสฺส | อิเมสํ, อิเมสานํ |
(n.) |
อิมสฺส, อสฺส | อิเมสํ, อิเมสานํ | |
(f). |
อิมิสฺสา, อิมิสฺสาย, อสฺสา | อิมาสํ, อิมาสานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
อิมสฺมิํ, อิมมฺหิ, อสฺมิํ | อิเมสุ |
(n.) |
อิมสฺมิํ, อมมฺหิ, อสฺมิํ | อิเมสุ | |
(f). |
อิมิสฺสํ, อสฺสํ | อิมาสุ |
ตารางวิภัตติสำหรับ เอต ศัพท์ และ ต คุณนาม (นั้น)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
เอโส, โส | เอเต, เต |
(n.) |
เอตํ | เอตานิ | |
(f). |
เอตา | เอตา | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
เอตํ, เอนํ | เอเต |
(n.) |
เอตํ | เอตานิ | |
(f). |
เอตํ, เอนํ | เอตา | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
เอเตน | เอเตหิ |
(n.) |
เอเตน | เอเตหิ | |
(f). |
เอตาย | เอตาหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
เอตสฺส | เอเตสํ, เอเตสานํ |
(n.) |
เอตสฺส | เอเตสํ, เอเตสานํ | |
(f). |
เอตสฺสา, เอติสฺสา, เอติสฺสาย | เอตาสํ, เอตาสานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
เอตสฺมา, เอตมฺหา | เอเตหิ |
(n.) |
เอตสฺมา, เอตมฺหา | เอเตหิ | |
(f). |
เอตาย | เอตาหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
เอตสฺส | เอเตสํ, เอเตสานํ |
(n.) |
เอตสฺส | เอเตสํ, เอเตสานํ | |
(f). |
เอตสฺสา, เอติสฺสา, เอติสฺสาย | เอตาสํ, เอตาสานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
เอตสฺมิํ, เอตมฺหิ | เอเตสุ |
(n.) |
เอตสฺมิํ, เอตมฺหิ | เอเตสุ | |
(f). |
เอตสฺสํ, เอติสฺสํ | เอตาสุ |
ตารางวิภัตติสำหรับ อมุ ศัพท์ (โน้น)
แก้ไข(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
อมุ | อมู |
(n.) |
อทุ ํ | อมูนิ | |
(f). |
อมุ | อมู | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
อมุ ํ | อมู |
(n.) |
อทุ ํ | อมูนิ | |
(f). |
อมุ ํ | อมู | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
อมุนา | อมูหิ |
(n.) |
อมุนา | อมูหิ | |
(f). |
อมุยา | อมูหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
อมุสฺส, อมุโน | อมูสํ, อมูสานํ |
(n.) |
อมุสฺส, อมุโน | อมูสํ, อมูสานํ | |
(f). |
อมุสฺสา | อมูสํ, อมูสานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
อมุสฺมา, อมุมฺหา | อมูหิ |
(n.) |
อมุสฺมา, อมุมฺหา | อมูหิ | |
(f). |
อมุยา | อมูหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
อมุสฺส, อมุโน | อมูสํ, อมูสานํ |
(n.) |
อมุสฺส, อมุโน | อมูสํ, อมูสานํ | |
(f). |
อมุสฺสา | อมูสํ, อมูสานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
อมุสฺมิํ, อมุมฺหิ | อมูสุ |
(n.) |
อมุสฺมิํ, อมุมฺหิ | อมูสุ | |
(f). |
อมุสฺสํ | อมูสุ |
อนิยมวิเสสนสัพพนาม (คุณนาม) (Undemonstrative Pronouns)
แก้ไขย ศัพท์ (ใด) (Relative Pronouns)
แก้ไขคือกลุ่มสรรพนามที่กล่าวอ้างนามที่ไม่แน่ชัดว่าเป็นตัวใด
ศัพท์ต่อไปนี้ มีวิธีแจกวิภัตติเหมือนกันทั้งหมดได้แก่ ย (ใด), อญฺญ (อื่น), ปร (อื่น), เอก (หนึ่ง), อุภย (ทั้งสอง), สพฺพ (ทั้งปวง) ฯลฯ
(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
โย | เย |
(n.) |
ยํ | ยานิ | |
(f). |
ยา | ยา | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
ยํ | เย |
(n.) |
ยํ | ยานิ | |
(f). |
ยํ | ยา | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
เยน | เยหิ |
(n.) |
เยน | เยหิ | |
(f). |
ยาย | ยาหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
ยสฺส | เยสํ, เยสานํ |
(n.) |
ยสฺส | เยสํ, เยสานํ | |
(f). |
ยสฺสา | ยาสํ, ยาสานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
ยสฺมา, ยมฺหา | เยหิ |
(n.) |
ยสฺมา, ยมฺหา | เยหิ | |
(f). |
ยาย | ยาหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
ยสฺส | เยสํ, เยสานํ |
(n.) |
ยสฺส | เยสํ, เยสานํ | |
(f). |
ยสฺสา | ยาสํ, ยาสานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
ยสฺมิํ, ยมฺหิ | เยสุ |
(n.) |
ยสฺมิํ, ยมฺหิ | เยสุ | |
(f). |
ยสฺสํ | ยาสุ |
นอกจากนี้แล้ว ในภาษาบาลีหากนำ ย กับ ต ศัพท์มาใช้คู่กัน จะได้ความหมายว่า "อันใด" กับ "อันนั้น" เช่น
โย ธมฺมมนุสาสติ โส อมตนฺทโท โหติ (ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ)
กิํ ศัพท์ (อะไร) (Interrogative Pronouns)
แก้ไขคือสรรพนามที่ใช้ในประโยคคำถาม
(Sg.) | (Pl.) | ||
---|---|---|---|
1.ปฐมา (Nom.) | (m.) |
โก | เก |
(n.) |
กึ | กานิ | |
(f). |
กา | กา | |
2.ทุติยา (Acc.) | (m.) |
กํ | เก |
(n.) |
กึ | กานิ | |
(f). |
กํ | กา | |
3.ตติยา (Inst.) | (m.) |
เกน | เกหิ |
(n.) |
เกน | เกหิ | |
(f). |
กาย | กาหิ | |
4.จตุตถี (Dat.) | (m.) |
กสฺส | กานํ |
(n.) |
กสฺส | กานํ | |
(f). |
กาย | กานํ | |
5.ปัญจมี (Abla.) | (m.) |
กสฺมา, กมฺหา | เกหิ |
(n.) |
กสฺมา, กมฺหา | เกหิ | |
(f). |
กาย | กาหิ | |
6.ฉัฏฐี (Gen.) | (m.) |
กสฺส | กานํ |
(n.) |
กสฺส | กานํ | |
(f). |
กาย | กานํ | |
7.สัตตมี (Loc.) | (m.) |
กสฺมิํ, กมฺหิ | เกสุ |
(n.) |
กสฺมิํ, กมฺหิ | เกสุ | |
(f). |
กายํ | กาสุ |
แต่ กิํ ศัพท์นี้ เมื่อนำเอา -จิ ปัจจัย มาต่อท้ายเข้าไปแล้ว จะได้ความหมายว่า "อันใดๆ" เช่น
โก + จิ =โกจิ (ชายใดๆ, ใครๆ) กิํ + จิ = กิญฺจิ (สิ่งใดๆ)
หรือเมื่อนำ ย ศัพท์ มาใช้ประกอบกับ กิํ+-จิ ปัจจัย ด้วย ก็จะได้ความหมายว่า "อันใดอันหนึ่ง" เช่น
โย โกจิ (คนใดคนหนึ่ง) ยํ กิญฺจิ (สิ่งใดสิ่งหนึ่ง)
นอกจากนี้แล้ว การนำคำว่า กิํ เปล่าๆ มาไว้ข้างหน้าประโยคแล้วใช้เป็นนิบาต จะทำให้กลายเป็นประโยคคำถามประเภทตามให้ตอบ ใช่/ไม่ใช่ หรือถามสาเหตุก็ได้