พูดคุย:ธงประดับเทศกาลต้อนรับ วันออกพรรษา
หมายเหตุ: มส กับ อิมํ ว่าให้เป็นธงเงือก
มสยํ หรือ มะสะยะ ที่แตกความเอาแบบจากทางสํสกฤตเข้ามาปะปนไว้ด้วย (ให้เป็น มสฺสฺย ศัพท์) มส อิมํ เห็นจะได้ที่มาจาก อิมศัพท์ แปลว่า “ดังต่อไปนี้” จากนั้นแล้วได้เป็น มส กับ อยํ เป็น มสยํ ที่แปลงมาแต่ อิมศัพท์นั้น. แล้วเห็นจะให้เลยไปในข้อเร้นลับที่เขียน ว่าไม่มีนิคหิตแล้ว ก็จึงเข้าเลียนกันกับเสียงนั้นว่าเป็น มสยะ (มตฺสฺย) ด้วยก็ได้ “ว่าประดับซึ่งรูปเขียน ด้วย (รูป) ต่อไปนี้” แล้วจะกำกับแต่งด้วยคาถาให้ลงกับภาพนั้น เห็นจะทำไม่ได้ จึงได้เอาอย่างสํสกฤตมาปนอย่างกับคาถาในพระธรรมบท และในพระไตรปิฎกบาลีเอง ซึ่งก็ปนอยู่ด้วยสํสกฤตก็มีเหมือนกัน. ข้อธงประดับ ว่า ธงเงือกนั้น จึงกำกับแก่ข้อธงมัจฉา ได้อย่างนั้นว่า มตฺสฺย ธชาหฏ สาธุํ ปูชายิทํ ผลํ. ซึ่งที่ถูกนั้น มตฺสฺย (มัสยะ, มัสยา ได้แก่ ปลา) เมื่อแต่งบทขึ้น ถ้าหากจะให้เป็นตามบาลีแท้ๆ จะต้องว่าเป็น มจฺฉา (มัจฉา แปลว่า ปลา). แต่ก็นั้นเอง ถึงว่าแล้วก็เห็นจะไม้เข้ากะรูปภาพนั้นๆ เพราะภาพนั้นเป็นทางพิศดารยิ่งกว่าคำศัพท์จะกำหนด เนื้อเรื่องรวมความจึงแปลงทั้งประโยครวมกับคำทางสํสกฤตเสียเลย จึงให้เห็นเป็นพอดีกันกับรูปภาพเรื่องนางเงือก และเรื่องของธง. แต่คนที่เห็นความร้ายแรงถึงการปนกันของภาษาที่ยังไม่เป็นฉันทานุมัติ ในที่นั้นก็คงจะรู้สึกขัดใจ และคงไม่เห็นด้วยเท่าไรนัก |
เริ่มการอภิปรายใหม่ที่เกี่ยวกับ ธงประดับเทศกาลต้อนรับ วันออกพรรษา
หน้าคุยคือหน้าที่ผู้คนจะอภิปรายวิธีการสร้างเนื้อหาบน วิกิตำรา ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ คุณสามารถใช้หน้านี้เพื่อเริ่มการอภิปรายกับผู้อื่นในการปรับปรุง ธงประดับเทศกาลต้อนรับ วันออกพรรษา ได้เช่นกัน