ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/การอ่านออกเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prachya.boonkwan (คุย | ส่วนร่วม)
Prachya.boonkwan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 60:
เสียงพยัญชนะมีทั้งสิ้น 33 เสียง โดยจะแบ่งออกตามออกเป็นชุด (หรือที่เรียกว่า ''วรรค'') ตามแหล่งกำเนิดเสียงได้ดังนี้
 
<table width=400 border=1 cellspacing=0>
<table>
<tr>
<th align=center>แหล่งกำเนิดเสียง</th>
บรรทัดที่ 72:
<td>gh</td>
<td>ṅ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 79 ⟶ 82:
<td>ฆ</td>
<td>ง</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 86 ⟶ 92:
<td>घ</td>
<td>ङ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
<td rowspan=3>เพดานแข็งปุ่มเหงือก</td>
<td>c</td>
<td>ch</td>
เส้น 94 ⟶ 103:
<td>jh</td>
<td>ñ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 101 ⟶ 113:
<td>ฌ</td>
<td>ญ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 108 ⟶ 123:
<td>झ</td>
<td>ञ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 116 ⟶ 134:
<td>ḍh</td>
<td>ṇ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 123 ⟶ 144:
<td>ฒ</td>
<td>ณ</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 130 ⟶ 154:
<td>ढ</td>
<td>ण</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 138 ⟶ 165:
<td>dh</td>
<td>n</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 145 ⟶ 175:
<td>ธ</td>
<td>น</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 152 ⟶ 185:
<td>ध</td>
<td>न</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 160 ⟶ 196:
<td>bh</td>
<td>m</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 167 ⟶ 206:
<td>ภ</td>
<td>ม</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 174 ⟶ 216:
<td>भ</td>
<td>म</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
<td>&nbsp;</td>
</tr>
<tr>
เส้น 207 ⟶ 252:
</tr>
</table>
 
===== หลักการออกเสียงพยัญชนะ =====
 
* เสียงจากคอ
** เสียง k ออกเสียงเหมือน /ก/ เสียง kh ออกเสียงเหมือน /ค/
** เสียง g ออกเสียงเหมือน /ก/ แต่ให้เลื่อนมาใช้เพดานอ่อนแทน เสียง gh ก็เหมือนเสียง /ค/ แต่ใช้เพดานอ่อนแทน
** เสียง ṅ คือเสียง /ง/
* เสียงจากปุ่มเหงือก
** เสียง c ออกเสียงเหมือน /จ/ เสียง ch เหมือน /ช/
** เสียง j ออกเสียงเหมือน /จ/ แต่มีเสียงเสียดสีเหมือน /j/ ในภาษาอังกฤษ ส่วนเสียง jh คือ /ช/ ที่มีเสียงเสียดสี
** เสียง ñ ออกเสียงเหมือน /ย/ แต่เป็นเสียงขึ้นจมูก เมื่อเป็นเสียงตัวสะกดจะออกเสียงเหมือน /น/
* เสียงม้วนลิ้น
** เสียง ṭ ออกเสียงเหมือน /ต/ แต่ออกเสียงแบบม้วนลิ้น ส่วน ṭh ออกเสียงเหมือน /ท/ ที่ม้วนลิ้น
** เสียง ḍ ออกเสียงเหมือน /ด/ ที่ม้วนลิ้น ส่วน ḍh ออกเสียงเหมือน /ด+ท/ ที่ม้วนลิ้น
** เสียง ṇ ออกเสียงเหมือน /น/ ที่ม้วนลิ้น
* เสียงจากฟัน
** เสียง t ออกเสียงเหมือน /ต/ ส่วน th ออกเสียงเหมือน /ท/
** เสียง d ออกเสียงเหมือน /ด/ ส่วน dh ออกเสียงเหมือน /ด+ท/
** เสียง n ออกเสียงเหมือน /น/
* เสียงจากริมฝีปาก
** เสียง p ออกเสียงเหมือน /ป/ ส่วน ph ออกเสียงเหมือน /พ/
** เสียง b ออกเสียงเหมือน /บ/ ส่วน bh ออกเสียงเหมือน /บ+พ/
** เสียง m ออกเสียงเหมือน /ม/
* เสียงจากที่อื่นๆ
** เสียง y ออกเสียงเหมือน /ย/
** เสียง r ออกเสียงเหมือน /ร/ แต่รัวลิ้น
** เสียง l ออกเสียงเหมือน /ล/ ส่วน ḷ ออกเสียงเหมือน /ล/ แต่ม้วนลิ้น
** เสียง v ออกเสียงเหมือน /ว/ โดยไม่มีเสียงเสียดสีเหมือน /v/ ในภาษาอังกฤษ
** เสียง s ออกเสียงเหมือน /ซ/
** เสียง h ออกเสียงเหมือน /ฮ/
** เสียง ṃ ออกเสียงได้หลายแบบ ในสำเนียงลังกา กัมพูชา และไทยจะออกเสียงเทียบเท่า /ง/ ส่วนสำเนียงอินเดียและพม่าจะออกเสียงเทียบเท่า /ม/