ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำนาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 28:
# ''นามผสม'' (Compound noun)
 
==== สามานยนาม ====
''สามานยนาม'' หมายถึง นามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ ไม่ได้ชี้เฉพาะเจาะจงลงไปว่าชื่ออะไร เช่น
 
บรรทัดที่ 35:
: A "cat'' is on the ''table''. ''แมวอยู่บนโต๊ะ''}}
 
==== วิสามานยนาม ====
''วิสามานยนาม'' หมายถึง นามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ รวมทั้งราชาศัพท์ด้วย คำนามชนิดนี้ เวลาเขียนต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวอักษรใหญ่ (Capital Letter) เสมอไม่ว่าจะวางตรงไหนของประโยคก็ตาม เช่น
{{Example|
บรรทัดที่ 41:
:''Bangkok'' is the capital of ''Thailand''. ''กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย''}}
 
==== สมุหนาม ====
วิสามานยนามบางคำใช้เสมือนสามานยนามได้ในกรณีต่อไปนี้
# จุดกำเนิดของวัตถุใช้เป็นชื่อของวัตถุนั้นเอง เช่น china (เครื่องลายคราม)
# เป็นชื่อของคนหรือสถานที่ที่มีลักษณะบางประการที่ใช้บรรยายคนหรือสถานที่อื่นที่มีคุณสมบัติเดียวกัน เช่น a Hercules (หมายถึง คนที่มีพละกำลังมาก)
 
==== สมุหนาม ====
''สมุหนาม'' หมายถึง นามที่เป็นชื่อของหมู่คณะ ฝูง พวก กลุ่ม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดที่สมุหนามไปประกอบกับสามานยนามโดยมี of มาคั่น เพื่อให้เน้นความเป็นหมู่คณะนั้นชัดยิ่งขึ้น ตามโครงสร้างดังนี้
 
เส้น 63 ⟶ 59:
ส่วนอีกชนิดหนึ่งเป็น คำคำเดียวที่มีความหมายแสดงหมวดหมู่ กลุ่มก้อนในตัวมันเองอยู่แล้ว เช่น family ครอบครัว, army กองทัพบก, flock ฝูงสัตว์, jury คณะลูกขุน, cabinet คณะรัฐมนตรี เป็นต้น
 
==== วัตถุนาม ====
''วัตถุนาม'' หมายถึง นามที่เป็นชื่อของวัตถุ หรือบางครั้งจะเรียกว่า Mass noun นามมวลสารก็ได้ เพราะนามจำพวกนี้อยู่เป็นกลุ่มก้อน แสดงความมากน้อยด้วยปริมาณ ไม่ใช่ด้วยจำนวน และนามชนิดนี้ไม่ใช้ Article นำหน้า
 
==== อาการนาม ====
''อาการนาม'' หมายถึง นามที่เป็นชื่อของสภาวะ สถานะ คุณลักษณะ หรือการกระทำ โดยไม่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ เช่น
{{Example|
เส้น 85 ⟶ 81:
}}
 
==== นามผสม ====
''นามผสม'' อาจแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ
# คำที่ประสมเข้าเป็นคำเดียว เช่น courtyard (ลานหรือสนามของอาคาร), stepson (ลูกเลี้ยงที่เป็นชาย)
# กลุ่มคำที่ส่วนแรกเป็นคำหลัก แล้วนามต่อมาเป็นคำขยาย คำประเภทนี้เมื่อเป็นรูปพหูพจน์จะเติม ''-s'' ที่นามตัวหน้า เช่น court-martial—courts-martial, father-in-law—fathers-in-law
 
== การใช้คำนามแบบพิเศษ ==
วิสามานยนามบางคำใช้เสมือนสามานยนามได้ในกรณีต่อไปนี้
# จุดกำเนิดของวัตถุใช้เป็นชื่อของวัตถุนั้นเอง เช่น china (เครื่องลายคราม)
# เป็นชื่อของคนหรือสถานที่ที่มีลักษณะบางประการที่ใช้บรรยายคนหรือสถานที่อื่นที่มีคุณสมบัติเดียวกัน เช่น a Hercules (หมายถึง คนที่มีพละกำลังมาก)
 
# นำนามสามารถนำมาติดกับนามอีกคำหนึ่งโดยจะมีความหมายเพิ่มความหมายหรือคำอธิบาย (ทำหน้าที่เสมือนคุณศัพท์) ตัวอย่างเช่น
{{Example|
* a family quarrel (การทะเลาะในครอบครัว)
* a New York bank (ธนาคารนิวยอร์ก)
* a morning walk" (การเดินยามเช้า)
}}
 
== คำหรือกลุ่มคำประเภทอื่นที่ใช้เป็นคำนาม ==
เส้น 132 ⟶ 140:
|}
 
== หน้าที่ของคำนามในประโยค ==
หน้าที่ของคำนามในประโยคแบ่งได้เป็น กรรตุการก (nominative), กรรมการก (objective) และคำแสดงความเป็นเจ้าอขง (possessive)
# นำนามมาติดกับนามอีกคำหนึ่งโดยจะมีความหมายเพิ่มความหมายหรือคำอธิบาย (ทำหน้าที่เสมือนคุณศัพท์) ตัวอย่างเช่น
 
{{Example|
=== กรรตุการก ===
* a family quarrel (การทะเลาะในครอบครัว)
# เป็นประธานของกริยา
* a New York bank (ธนาคารนิวยอร์ก)
# เป็นนามภาคแสดง (predicate noun) หรือคำที่เติมกริยาให้สมบูรณ์
* a morning walk" (การเดินยามเช้า)
# วางข้างนามกรรตุการกอื่น เป็นการเพิ่มความหมายของคำนั้น เช่น "The reaper ''Death'' with his sickle keen."
}}
# ใช้เมื่อกล่าวด้วยโดยตรง (direct address) เช่น "''Lord Angus'', thou hast lied!"
# ใช้กับ infinitive ในประโยคอุทาน เช่น "''David'' to die!"
 
{{BookCat}}