ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอนกรีตเทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัดที่ 2:
 
== บทนำ (Introduction) ==
=== บทนำ ===
 
=== ประวัติคอนกรีต ===
วิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรง
คอนกรีต จะมีสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย ต่อหิน ดังนี้
 
=== ส่วนประกอบของคอนกรีต ===
 
== ปูนซีเมนต์ (Cement) ==
=== บทนำ ===
=== ประวัติปูนซีเมนต์ ===
ปูนซีเมนต์ธรรมชาติเป็นหินพอซโชลานา ซึ่งชาวโรมันได้ค้นพบและใช้ในงานผสมคอนกรีต ทำให้ชาวโรมันสามารถสร้างอาคารใหญ่ๆ หรือช่วงกว้างๆ ได้คงทนถาวร
 
=== การกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ ===
 
=== ปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ===
 
=== การทดสอบปูนซีเมนต์ ===
 
=== ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ===
มี5 ประเภท
ได้แก่ ปูนซีเมนต์ตราช้าง ตราพญานาคเศียรเดียว ตราเพชร ตราพญานาค 7 เศียร และตราปลาฉลาม
 
=== ปูนซีเมนต์ชนิดพิเศษ ===
=== วัสดุปอซโซลาน ===
2.# 2 วัสดุปอซโซลาน ( Pozzolan ) เป็นสารผสมเพิ่มแบบแร่ธาตุ ( Mineral Admixture ) ซึ่งมีองค์ประกอบของธาตุที่สำคัญเหมือนปูนซีเมนต์ เช่น ซิลิกา (SiO 2 ) และ อลูมิน่า (Al2O3)
ในปัจจุบันวัสดุปอซโซลานที่นำมาผสมกับผงซีเมนต์มีมากมาย เช่น ดินเหนียว ดินดาน ผงถ่านหิน เถ้าแกลบ เถ้าลอย แต่ที่นิยมนำมาใช้มากที่สุดคือ เถ้าลอย( Fly Ash ) ที่ได้จากเตาเผาของโรงผลิตกระแสไฟฟ้า เพราะมีปริมาณมากและเมื่อนำมาผสมกับซีเมนต์เพสต์แล้วมีคุณสมบัติด้านรับแรงอัดได้สูงขึ้น โดยสัดส่วนของปอซโซลานที่ใช้ควรอยู่ระหว่าง 15 – 50 % ของน้ำหนักของปูนซีเมนต์ทั้งหมด โดยประโยชน์ที่นำวัสดุปอซโซลานมาผสมมีดังนี้
1. # ทำให้คอนกรีตมีการขยายตัวน้อย มีความทึบน้ำสูง
2. # ให้ความร้อนในการทำปฏิกิริยากับน้ำต่ำเมื่อเทียบกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดาจึงเหมาะสำหรับงานคอนกรีตหลา
3. # มีอัตราการพัฒนาแรงอัดช้าเนื่องจากทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างช้าๆ แต่ให้แรงอัดในระยะหลังเท่ากันหรืออาจมากว่าเมื่อใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา โดยบ่มชื้นให้นานกว่าปกติ
4. # ทนทานต่อการกัดกร่อนของสารประกอบผงซัลเฟตได้ดีอีกด้วย
 
== มวลรวม (Aggregate) ==
=== บทนำ ===
=== การจำแนกมวลรวม ===
 
=== คุณสมบัติของมวลรวมและการทดสอบ ===
 
== น้ำ (Water) ==
=== บทนำ ===
=== คุณสมบัติและการทดสอบ ===
 
== สารเคมีผสมเพิ่ม (Chemical Admixtures) ==
=== บทนำ ===
=== Dispersing Admixtures ===
=== Retarding Admixtures ===
 
== สารหน่วง ==
คือสารเคมีที่ใช้ในการหน่วงการก่อตัวโดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อกำลังของคอนกรีตในระยะยาว พบมากใน
 
#
1.
งานก่อสร้างที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง (ที่มีผลให้ปฏิกริยาไฮเดรชันของคอนกรีตถูกเร่งเร็วขึ้นทางอ้อม ทำให้สูญเสียความสามารถในการเทเร็วขึ้น)
 
2.#
งานก่อสร้างที่ต้องขนส่งคอนกรีตไกล
 
3.#
งานก่อสร้างคอนกรีตหลา (Mass Concrete)
 
4.#
งานถนน
 
สารหน่วงตามธรรมชาติคือ น้ำตาล
 
=== Accelerating Admixtures ===
=== Air-entraining Admixtures ===
=== Special Admixtures ===
 
== วัสดุผสมเพิ่ม (Mineral Admixtures) ==
=== บทนำ ===
=== วัสดุปอซโซลาน ===
 
== คอนกรีตสด (Fresh Concrete) ==
=== บทนำ ===
=== คุณสมบัติและการทดสอบ ===
 
=== การเทและการอัดแน่น ===
 
== ภาคผนวก(Appendices) ==
 
== อ่านเพิ่มเติม (Further Reading) ==
 
=== วิกิตำราภาษาอังกฤษ ===
 
=== เอกสารอ้างอิง (References) ===
* Adam M. Neville, J. J. Brooks, <i>'''Concrete Technology'''<i>, Longman Scientific and Technical, 1987. ISBN 0-582-98859-4
* Adam M. Neville, <i>'''Properties of Concrete'''<i>, Longman Publishing Group, 1995. ISBN 0-582-23070-5
* John Newman and B S Choo (Editor), <i>''' Advanced Concrete Technology Vol. 1-4 '''<i>, Longman Butterworth-Heinemann, 2003. ISBN 0-7506-5103-2, ISBN 0-7506-5104-0, ISBN 0-7506-5105-9, ISBN 0-7506-5106-7
* P. Kumar Mehta, Paulo J.M. Monteiro, <i>'''Concrete'''<i>, McGraw-Hill Professional; 3 edition 2005. ISBN 0-071-46289-9