คอนกรีตเทคโนโลยี

บทนำ (Introduction)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

ประวัติคอนกรีต

แก้ไข

วิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรง คอนกรีต จะมีสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย ต่อหิน ดังนี้

ส่วนประกอบของคอนกรีต

แก้ไข

--ธนบูลย์ เอกตาแสง (พูดคุย) 01:00, 26 พฤษภาคม 2557 (ICT)== ปูนซีเมนต์ (Cement) ==

บทนำ

แก้ไข

ประวัติปูนซีเมนต์

แก้ไข

ปูนซีเมนต์ธรรมชาติเป็นหินพอซโชลานา ซึ่งชาวโรมันได้ค้นพบและใช้ในงานผสมคอนกรีต ทำให้ชาวโรมันสามารถสร้างอาคารใหญ่ๆ หรือช่วงกว้างๆ ได้คงทนถาวร

การกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์

แก้ไข

ปฏิกิริยาไฮเดรชั่น

แก้ไข

การทดสอบปูนซีเมนต์

แก้ไข

ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์

แก้ไข

มี5 ประเภท ได้แก่ ปูนซีเมนต์ตราช้าง ตราพญานาคเศียรเดียว ตราเพชร ตราพญานาค 7 เศียร และตราปลาฉลาม

ปูนซีเมนต์ชนิดพิเศษ

แก้ไข

วัสดุปอซโซลาน

แก้ไข
  1. 2 วัสดุปอซโซลาน ( Pozzolan ) เป็นสารผสมเพิ่มแบบแร่ธาตุ ( Mineral Admixture ) ซึ่งมีองค์ประกอบของธาตุที่สำคัญเหมือนปูนซีเมนต์ เช่น ซิลิกา (SiO 2 ) และ อลูมิน่า (Al2O3)

ในปัจจุบันวัสดุปอซโซลานที่นำมาผสมกับผงซีเมนต์มีมากมาย เช่น ดินเหนียว ดินดาน ผงถ่านหิน เถ้าแกลบ เถ้าลอย แต่ที่นิยมนำมาใช้มากที่สุดคือ เถ้าลอย( Fly Ash ) ที่ได้จากเตาเผาของโรงผลิตกระแสไฟฟ้า เพราะมีปริมาณมากและเมื่อนำมาผสมกับซีเมนต์เพสต์แล้วมีคุณสมบัติด้านรับแรงอัดได้สูงขึ้น โดยสัดส่วนของปอซโซลานที่ใช้ควรอยู่ระหว่าง 15 – 50 % ของน้ำหนักของปูนซีเมนต์ทั้งหมด โดยประโยชน์ที่นำวัสดุปอซโซลานมาผสมมีดังนี้

  1. ทำให้คอนกรีตมีการขยายตัวน้อย มีความทึบน้ำสูง
  2. ให้ความร้อนในการทำปฏิกิริยากับน้ำต่ำเมื่อเทียบกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดาจึงเหมาะสำหรับงานคอนกรีตหลา
  3. มีอัตราการพัฒนาแรงอัดช้าเนื่องจากทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างช้าๆ แต่ให้แรงอัดในระยะหลังเท่ากันหรืออาจมากว่าเมื่อใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา โดยบ่มชื้นให้นานกว่าปกติ
  4. ทนทานต่อการกัดกร่อนของสารประกอบผงซัลเฟตได้ดีอีกด้วย

มวลรวม (Aggregate)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

การจำแนกมวลรวม

แก้ไข

คุณสมบัติของมวลรวมและการทดสอบ

แก้ไข

น้ำ (Water)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

คุณสมบัติและการทดสอบ

แก้ไข

สารเคมีผสมเพิ่ม (Chemical Admixtures)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

Dispersing Admixtures

แก้ไข

Retarding Admixtures

แก้ไข

สารหน่วง

แก้ไข

คือสารเคมีที่ใช้ในการหน่วงการก่อตัวโดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อกำลังของคอนกรีตในระยะยาว พบมากใน

งานก่อสร้างที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง (ที่มีผลให้ปฏิกริยาไฮเดรชันของคอนกรีตถูกเร่งเร็วขึ้นทางอ้อม ทำให้สูญเสียความสามารถในการเทเร็วขึ้น)

งานก่อสร้างที่ต้องขนส่งคอนกรีตไกล

งานก่อสร้างคอนกรีตหลา (Mass Concrete)

งานถนน

สารหน่วงตามธรรมชาติคือ น้ำตาล

Accelerating Admixtures

แก้ไข

Air-entraining Admixtures

แก้ไข

Special Admixtures

แก้ไข

วัสดุผสมเพิ่ม (Mineral Admixtures)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

วัสดุปอซโซลาน

แก้ไข

คอนกรีตสด (Fresh Concrete)

แก้ไข

บทนำ

แก้ไข

คุณสมบัติและการทดสอบ

แก้ไข

การเทและการอัดแน่น

แก้ไข

ภาคผนวก(Appendices)

แก้ไข

อ่านเพิ่มเติม (Further Reading)

แก้ไข

วิกิตำราภาษาอังกฤษ

แก้ไข

เอกสารอ้างอิง (References)

แก้ไข