โรคเก๊าท์ เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรตตามเนื้อเยื่อต่าง และมีการอักเสบ

Definite diagnosis: พบ urate crystal จากน้ำไขข้อหรือปุ่มโทฟัส

Crue diagnosis: หลักเกณฑ์การวินิจฉัยอย่างน้อย 6 ใน 12 ข้อ

ข้ออักเสบ : บวมแดง, acute > 1 ครั้ง, monoarthritis, ปวดสูงสุดภายใน 1 วัน ตำแหน่ง  : metatarsophalangeal joint, tarsal joint, unilateral อื่นๆ  : tophus, high serum uric acid, no organism in joint fluid Film  : asymetrical joint swelling, subcortical bone cyst

การรักษา

แก้ไข
  1. การแนะนำ การงดดื่มสุรา ในรายที่อ้วนควรลดน้ำหนักตัว และรักษาโรคร่วมอื่นๆ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก
  2. การใช้ยารักษา ในช่วงแรก หรือ Acute atage ให้ NSAIDS ควบคู่กับ colchicin NSAIDS เลือก indomethacin 75 -150 mg/day diclofenac 75 -150 mg/day naprocen 500-1000 mg/day piroxicam 20 mg/day 1st day 40 mg ibuprofen 1200-1400 mg/day

loading dose in 1st day, ห้ามให้ aspirin, หากรับประทานไม่ได้พิจารณาใช้ยาฉีด Colchicine (0.6 mg) วันแรก q 4-6 ชั่วโมง , วันต่อมา 1x2 pc x 3-7 days หรือจนกว่าอาการทุเลา Corticosteriod ใช้เมื่อมีข้อห้ามการให้ NSAIDS : GI bleeding, renal failure, polyarthritis และควรให้ร่วมกับ colchicine

ข้อพิจารณาเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

แก้ไข
  1. ข้ออักเสบบ่อย ทุก 1-2 เดือน ให้ colchicine 0.3-1.2 mg/day (tab 0.6 mg)
  2. ข้ออักเสบไม่บ่อย ทุก 3-4 เดือน ขึ้นไป ให้ colchicine รับประทานช่วงที่มีอาการกำเริบ เหมือน acute phase
  3. การพิจารณาหยุดยา colchicine
    1. ผู้ป่วยไม่มีปุ่มโทฟัส ;หยุดยาเมื่อไม่มีข้ออักเสบกำเริบหลังควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์ เป็นเวลา 6-12 เดือน
    2. ผู้ป่วยมีปุ่มโทฟัส ; ควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์และปุ่มโทฟัสหายไป เป็นเวลา 6-12 เดือน

การให้ยาลดกรดยูริก Aim: ละลายผลึกยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ การรับประทานในกรณีนี้ต้องติดต่ออย่างน้อย 4-5 ปีจึงจะได้ประโยชน์เต็มที่(อย่างสม่ำเสมอ)

การให้ยา

แก้ไข
  1. arthritis > 3 ครั้งต่อปี โดยที่ผู้ป่วยรับประทานยา colchicine เพื่อป้องกันทุกวัน
  2. มีปุ่มโทฟัส
  3. มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
  4. uric a level >= 9 mg/dl
  5. มีการขับกรดยูริกทางไต >= 800 mg/day

ข้อควรระวัง

แก้ไข
  1. การเริ่มให้ต้องรอจนข้ออักเสบหายสนิทแล้ว
  2. เริ่มให้ขนาดต่ำก่อน แล้วปรับยาทุก 2-4 สัปดาห์ และ ตรวจระดับกรดยูริกจนต่ำกว่า 5.5 mg/dl
  3. ระยะเวลาการให้ จนกระทั่งไม่มีอาการข้ออักเสบหรือให้จนปุ่มโทฟัสหายไปหมดเป็นเวลา 4-5 ปีขึ้นไป
  4. ห้ามปรับยาลดกรดยูริกขณะที่ข้อมีการอักเสบ
  5. ในรายที่มีนิ่วทางเดินปัสสาวะต้องให้ยาลดกรดยูริกชนิดยับยั้งการสร้างกรดยูริกตลอดไป

แนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูริก

แก้ไข
  1. อายุน้อยกว่า 60 ปี
  2. การทำงานของไตปกติ probenecid CCr > 80 cc/min, benzpromarone CCr > 30 cc/min
  3. มีการขับกรดยูริกออกทางไตน้อยกว่า 800 cc / day
  4. ไม่มีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ

แนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก

แก้ไข
  1. มีปุ่มโทฟัส
  2. มีการขับกรดยูริกออกทางไตมากกว่า 800 cc / day
  3. มีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
  4. ใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล

ขนาดยา

  1. Probenecid 1000-2000 mg/day 2-3 times (tab 500 mg) 2.Benzbromarone 25-100 mg/day od
  2. Allopurinol 100-300 mg/day od (tab 100 mg)

ควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางเมื่อมีกรณีต่อไปนี้

  1. uncertain diagnosis
  2. uncontrol arthritis
  3. uncontrol uric acid level 5.5
  4. renal failure
  5. multiple tophus
  6. multiple medical problem

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้ไข