หมาร่า
• แมลงพื้นถิ่น หมาร่า | ||||||
กลุ่มข้อมูลแมลง | คำศัพท์ ชื่อ | ความมุ่งหมายหมาย/คำนิยามศัพท์ ค้นคว้า | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่ 1 |
แจ้งชื่อประเภท (วิชา แมลง) | ประเภทแมลง : ผึ้ง/ต่อ/ แตน รูปภาพ : ชื่อแมลง : ต่อหมาร่า (Chalybion bengalense) ชื่อทั่วไป : ต่อหมาร่า (Chalybion bengalense) ชื่อสามัญ : Phecid Wasp ชื่อวิทยาศาสตร์ : Chalybion bengalense (Dahlbum) ลักษณะทั่วไป : ลำตัวยาว 18 มิลลิเมตร รูปร่างเรียวยาว สีน้ำเงินเข้ม วาว เหลือบน้ำเงิน ปกคลุมด้วยขนละเอียดสีเงิน ตาขนาดใหญ่ สีดำ เอวคอดเรียวยาวเป็นก้าน มีหนามที่ปลาย tibia 2 อัน ปีกบางใสสีน้ำตาล หนวดแบบข้อศอก ปากแบบกัดกิน ปีกแบบบางใส ขาเดิน ขาเดิน ถิ่นอาศัย : พบได้ทั่วไป ประโยชน์ : ตัวห้ำ ตัวเบียน | ||||
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่ 2 |
แจ้งชื่อทั่วไป (วิชา แมลง) | ข้อมูลชื่อview: 169 ชื่อทั่วไป Name ต่อหมาร่า (Chalybion bengalense) ชื่อท้องถิ่น Local Name ชื่อสามัญ Common Name Phecid Wasp ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name Chalybion bengalense (Dahlbum) Taxonomy Kingdom Animalia Phylum Arthropoda Class Insecta Order Hymenoptera Family Sphecidae Genus Chalybion Specific epithet bengalense Subspecies . ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาว 18 มิลลิเมตร รูปร่างเรียวยาว สีน้ำเงินเข้ม วาว เหลือบน้ำเงิน ปกคลุมด้วยขนละเอียดสีเงิน ตาขนาดใหญ่ สีดำ เอวคอดเรียวยาวเป็นก้าน มีหนามที่ปลาย tibia 2 อัน ปีกบางใสสีน้ำตาล ลักษณะหนวด หนวดแบบข้อศอก (geniculate) ลักษณะปาก ปากแบบกัดกิน (chewing type) ลักษณะปีก ปีกแบบบางใส (membrane) ลักษณะขา ขาเดิน (walking legs) ลักษณะตา ตารวม (compound eyes) ถิ่นอาศัย พบได้ทั่วไป อาหารของแมลง หากินเหยื่อที่เป็นแมลงด้วยกันเป็นอาหาร และดูดกินน้ำหวานจากดอกไม้ บันทึกเพิ่มเติม การใช้ประโยชน์ ตัวห้ำ ตัวเบียน สำรวจเจอที่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา | ||||
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่ 3 |
แจ้งชื่อกลุ่ม (วิชา แมลง) | รายชื่อความหลากหลายของแมลง กลุ่มแมลงตัวห้ำ ตัวเบียน 18 ต่อหมาร่า Chalybion bengalense Dahlbum Sphecidae | ||||
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่ 4 |
แจ้งชื่อพื้นเมือง (ไทย) | ชื่อพื้นเมือง (อีสาน) แมงหยอด แมงไหย๋ แมงขี้กะตอด ( ศิลปินนักปั้นแต่ง แห่งเสาเถียง ) ชื่อภาษาไทย หมาร่า ชื่อสามัญ Ceriana wasp , Wasp-mimic Hoverfly ชื่อวิทยาศาสตร์ Hymenoptera Ceriana sp. วงศ์ Sphecidae ลำดับ insecta หมาร่า(ปักษ์ใต้บ้านฉันเรียกว่าแมงหมาบ้า) คือตัวต่อชนิดหนึ่ง ที่ชอบทำรังอยู่ตาม ฝ้าเพดาน เสาบ้าน ซอกหลืบเล็กๆของตู้โชว์ หลังทีวี ฯลฯ หรือพูดง่ายๆก็คือมันสามารถสร้างรังได้ทุกที่ในบริเวณบ้านที่เป็นที่ร่ม แมงหยอด แมงไหย๋ ทำรังด้วยดินเหนียว บรรจง ปั้นแต่งให้เป็นรัง หรือที่เรียกว่า “ บ้านดิน “ ลักษณะทางกายภาพ มีลำตัวยาวประมาณ 2- 4 ซม. ที่พบในประเทศ ไทย มี 2 สายพันธุ์ คือ พวกที่มีลำตัว สีน้ำตาลคาดเหลือง กับสายพันธ์ สีดำคาดขาวและดำเหลือง ล้วน มีลำตัวปราดเปรียว เป็นนักล่า อาหารคือ หนอน ไข่เพี้ยและแมลง ที่เป็นศัตรูพืชขนาดเล็ก อื่นๆ นับเป็นยาฆ่าแมลงชีวภาพ ตามธรรมชาติ ยังพบว่าแมลงชนิดนี้ช่วยในการผสมเกสร ช่วยให้พืชผล ติดผลได้ดี ช่วงท้อง มีท่อเพรียวเล็ก เชื่อมต่อกับก้นที่มีขนาดใหญ่กว่า เหมาะสำหรับการบินที่ ปราดเปรียว มี รยางค์ เช่นเดียวกับแมลง ประเภท ต่อแตน วงจรชีวิต แมลงชนิดนี้ มีอายุเฉลี่ย 220 วัน นับจากวันที่ ออกจากรัง การผสมพันธ์ ไม่เลือกฤดู เช่นเดียวกับมนุษย์ ขึ้นอยู่กับอายุโตเต็มวัย ซึงจะอยู่ที่ 90 วัน เมื่อผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะ หาที่ทำรัง ก่อด้วยดินเหนียว ด้วยความพากเพียร ปกติจะปั้นรัง อยู่ที่ 3 ช่อง นั่นคือวางไข่ ประมาณ 1 ตัวต่อช่อง เมื่อทำรังเสร็จ และหาตัวหนอน หรือแมลงเป็น ๆ มาไว้ในรังเพื่อเป็นอาหารของลูกที่เกิดมา ระยะเวลาการทำรัง “ โอดโปด วิมาน “ จะอยู่ที่ 1 สัปดาห์ ใช้เวลาในการในการวิวัฒนาการ จากไข่ เป็นตัวอ่อน 3 สัปดาห์ เมื่อแม่ทำรังเสร็จ ปิดรังให้มิดชิด จะตายลง เมื่อไข่ฟักเป็นตัว ออกมาจะกินอาหารที่แม่เตรียมให้ จนปีกงอกสมบูรณ์ จึงออกมาจากรัง ชื่อต่อหลายชนิดในวงศ์ Sphecidae ใช้ดินเหนียวทํารังขนาดกําปั้นหรือ เล็กกว่าติดตามฝ้า คาน เสาบ้าน หรือบริเวณที่ร่มอื่น ๆ ในรังมีหนอนหรือ เหยื่อที่ถูกต่อยให้สลบเพื่อเป็นอาหารของลูกอ่อน เช่น ชนิด Eumenes petiolata. | ||||
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่ 5 |
รายชื่อพื้นถิ่น (อังกฤษ) | อาจเป็นความต้องการเกี่ยวกับโครงงาน ปาทานุกรม และความหมายเฉพาะแบบพจนานุกรม (และอาจกำหนดให้ไม่มีคำพื้นถิ่นที่นอกเหนือไปกว่าศัพท์วิทยาศาสตร์) | ||||
หมาร่า ตัวอย่างระบบข้อมูลที่. . . |
- | - |
- ประเภทและความต้องการงานวิจัย และความร่วมมือจากภาครัฐอย่างเป็นทางการ