ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/แพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Softmail (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 10:
 
วิกิตำราที่มีอยู่:
Gout
Definition: เป็นกลุ่มโรค ที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรตตามเนื้อเยื่อต่าง และมีการอักเสบ
 
Definite diagnosis: พบ urate crystal จากน้ำไขข้อหรือปุ่มโทฟัส
(ไม่มี)
 
Crue diagnosis: หลักเกณฑ์การวินิจฉัยอย่างน้อย 6 ใน 12 ข้อ
 
ข้ออักเสบ : บวมแดง, acute > 1 ครั้ง, monoarthritis, ปวดสูงสุดภายใน 1 วัน ตำแหน่ง : metatarsophalangeal joint, tarsal joint, unilateral อื่นๆ : tophus, high serum uric acid, no organism in joint fluid Film : asymetrical joint swelling, subcortical bone cyst
 
การรักษา
 
1.การแนะนำ การงดดื่มสุรา ในรายที่อ้วนควรลดน้ำหนักตัว และรักษาโรคร่วมอื่นๆ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก 2. การใช้ยารักษา ในช่วงแรก หรือ Acute atage ให้ NSAIDS ควบคู่กับ colchicin NSAIDS เลือก indomethacin 75 -150 mg/day diclofenac 75 -150 mg/day naprocen 500-1000 mg/day piroxicam 20 mg/day 1st day 40 mg ibuprofen 1200-1400 mg/day
 
loading dose in 1st day, ห้ามให้ aspirin, หากรับประทานไม่ได้พิจารณาใช้ยาฉีด
Colchicine (0.6 mg) วันแรก q 4-6 ชั่วโมง , วันต่อมา 1x2 pc x 3-7 days หรือจนกว่าอาการทุเลา Corticosteriod ใช้เมื่อมีข้อห้ามการให้ NSAIDS : GI bleeding, renal failure, polyarthritis และควรให้ร่วมกับ colchicine
 
ข้อพิจารณา เพื่อป้องกัน การกลับเป็นซ้ำ 1.ข้ออักเสบบ่อย ทุก 1-2 เดือน ให้ colchicine 0.3-1.2 mg/day (tab 0.6 mg) 2.ข้ออักเสบไม่บ่อย ทุก 3-4 เดือน ขึ้นไป ให้ colchicine รับประทานช่วงที่มีอาการกำเริบ เหมือน acute phase 3.การพิจารณาหยุดยา colchicine
 
3.1 ผู้ป่วยไม่มีปุ่มโทฟัส ;หยุดยาเมื่อไม่มีข้ออักเสบกำเริบหลังควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์ เป็นเวลา 6-12 เดือน
3.2 ผู้ป่วยมีปุ่มโทฟัส ; ควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์และปุ่มโทฟัสหายไป เป็นเวลา 6-12 เดือน
การให้ยาลดกรดยูริก Aim: ละลายผลึกยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ การรับประทานในกรณีนี้ต้องติดต่ออย่างน้อย 4-5 ปีจึงจะได้ประโยชน์เต็มที่(อย่างสม่ำเสมอ)
 
Indication : การให้ยา 1. arthritis > 3 ครั้งต่อปี โดยที่ผู้ป่วยรับประทานยา colchicine เพื่อป้องกันทุกวัน 2. มีปุ่มโทฟัส 3. มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 4. uric a level >= 9 mg/dl 5. มีการขับกรดยูริกทางไต >= 800 mg/day
 
ข้อระวัง - การเริ่มให้ต้องรอจนข้ออักเสบหายสนิทแล้ว - เริ่มให้ขนาดต่ำก่อน แล้วปรับยาทุก 2-4 สัปดาห์ และ ตรวจระดับกรดยูริกจนต่ำกว่า 5.5 mg/dl - ระยะเวลาการให้ จนกระทั่งไม่มีอาการข้ออักเสบหรือให้จนปุ่มโทฟัสหายไปหมดเป็นเวลา 4-5 ปีขึ้นไป - ห้ามปรับยาลดกรดยูริกขณะที่ข้อมีการอักเสบ - ในรายที่มีนิ่วทางเดินปัสสาวะต้องให้ยาลดกรดยูริกชนิดยับยั้งการสร้างกรดยูริกตลอดไป
 
แนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูริก (probenecid, benzpromarone) 1.อายุน้อยกว่า 60 ปี 2.การทำงานของไตปกติ probenecid CCr > 80 cc/min, benzpromarone CCr > 30 cc/min 3.มีการขับกรดยูริกออกทางไตน้อยกว่า 800 cc / day 4.ไม่มีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
 
แนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (Xanthine oxidase inhibitor or allopurinol) 1.มีปุ่มโทฟัส 2.มีการขับกรดยูริกออกทางไตมากกว่า 800 cc / day 3.มีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 4.ใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล
 
ขนาดยา 1.Probenecid 1000-2000 mg/day 2-3 times (tab 500 mg) 2.Benzbromarone 25-100 mg/day od 3.Allopurinol 100-300 mg/day od (tab 100 mg)
 
ควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางเมื่อมีกรณีต่อไปนี้ 1. uncertain diagnosis 2. uncontrol arthritis 3. uncontrol uric acid level 5.5 4. renal failure 5. multiple tophus 6. multiple medical problem
 
=== ศัลยศาสตร์ (Surgery) ===