ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาละติน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prachya.boonkwan (คุย | ส่วนร่วม)
Prachya.boonkwan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 3:
[[Image:Calligraphy.malmesbury.bible.arp.jpg|right|thumb|250px|ภาษาของชาว[[โรมัน]]มีอิทธิพลอย่างสูงต่อศิลปะวิทยาการต่างๆ ของชาวยุโรป เช่น [[คัมภีร์ไบเบิล]]ฉบับภาษาละตินฉบับปี ค.ศ. 1407 (พ.ศ. 1950)]]
 
ภาษาละติน (Lingua Latīna) เป็นภาษาของชาวโรมันโบราณซึ่งอาศัยอยู่แคว้นละทีอุม (Latīum ปัจจุบันคือเมือง Lazio) บริเวณริมชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอิตาลี โดยมีโรม (Rōma) เป็นศูนย์กลางของแคว้น ภาษาละตินที่อยู่ภายในตำราวิกิฉบับนี้จะเป็นภาษาที่ชาวโรมใช้กันเมื่อสองพันปีที่แล้ว อันเป็นช่วงเวลาทองแห่งวรรณกรรมโรมัน
 
การเรียนภาษาละตินเป็นสะพานไปสู่ความสำเร็จของการศึกษาภาษา วรรณกรรม และศิลปะวิทยาการของประเทศในแถบยุโรป ตั้งแต่ครั้งโบราณ วรรณกรรม ศิลปะวิทยาการ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ คัมภีร์ทางศาสนา ถูกถ่ายทอดผ่านภาษาละติน ในสมัยก่อนปฏฺิวัติอุตสาหกรรม ภาษาละตินถูกใช้เป็นภาษากลางสำหรับวงการวิทยาศาสตร์ ผลงานทางวิชาการของนักวิทยาศาสตร์ เช่น ไอแซค นิวตัน ล้วนตีพิมพ์ด้วยภาษาละตินทั้งสิ้น นอกจากนี้ กว่าครึ่งหนึ่งของคำภาษาอังกฤษในพจนานุกรมต่างๆ ล้วนเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน การศึกษาภาษาละตินจึงช่วยเพิ่มพูนทักษะการใช้และการสร้างคำศัพท์ใหม่ในภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี