ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 65:
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ==
 
คำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงหรือ'''ผู้ถูกกระทำโดยตรงทำ'''หรือ'''สิ่งถูกทำ'''ของประโยค เรียกว่า {{w|การก|กรรมการก}} (accusative case) ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ทุติยา''' หรือการผันคำนามลำดับที่สอง ประโยค ''ฉันกิน<u>ข้าว</u>'' คำว่าข้าวทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วนประโยค ''แม่ให้<u>ขนม</u>แก่<u>น้อง</u>'' คำว่าขนมทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วน "น้อง" ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่งจะมีในบทถัดไป
 
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง มีหลักการผันดังนี้
บรรทัดที่ 109:
ประโยคที่จะมีคำนามรูปกรรมตรงได้นั้น คำกริยาหลักของประโยคต้องเป็นกริยาชนิดที่ต้องการกรรม หรือเป็นกริยาแสดงการเคลื่อนที่หรือการเดินทาง
 
โครงสร้างของประโยคที่มีกรรมตรง จะเรียงลำดับเป็น '''ผู้ทำ''' (ประธาน) + '''ผู้ถูกทำ''' (กรรมตรง) + '''กริยา.''' (เทียบเท่ากับ SOV - '''S'''ubject '''O'''bject '''V'''erb) จะเห็นว่าคำกริยาตกอยู่ท้ายประโยค และกรรมตรงอยู่หน้าคำกริยา
 
: {| class="wikitable"
บรรทัดที่ 123:
| อันว่าเหล่าพ่อค้า กำลังไป สู่หมู่บ้าน
|-
| ประธานผู้ทำ<br/>(nom)
| กรรมตรงผู้ถูกทำ<br/>(acc)
| กริยา
|}