ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 57:
|}
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นประธานผู้ทำ ==
 
คำนามที่ทำหน้าที่เป็นประธานผู้ทำของประโยค เรียกว่า {{w|การก|กรรตุการก}} (nominative case) ในเบื้องต้นให้ผู้ทำคือประธานของประโยค การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) มีหลักการผันดังนี้
 
# รูป<u>เอกพจน์</u>ในการกนี้ให้เติม '''โ–''' (-o) ท้ายต้นเค้าคำนาม
# รูป<u>พหูพจน์</u>ในการกนี้ให้เติม '''–า''' (-ā) ท้ายต้นเค้าคำนาม
 
เมื่อแปลที่ผันตามการกนี้จะมีความหมายว่า "อันว่า..." ซึ่งปกติเมื่อแปลประโยคจะละไว้ไม่เขียน แต่ให้ทราบว่าเป็นผู้ทำหรือประธานของประโยค
 
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | ประธานผู้ทำ เอกพจน์
|-
| นร + '''โ-'''<br/>(nara + -o) || → || style="background: #FFFF99" | '''นโร'''<br/>(naro) || อันว่าผู้ชาย, อันว่าคน
บรรทัดที่ 75:
| กสฺสก + '''โ-'''<br/>(kassaka + -o) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสโก'''<br/>(kassako) || อันว่าชาวนา
|-
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | ประธานผู้ทำ พหูพจน์
|-
| นร + '''-า'''<br/>(nara + -ā) || → || style="background: #FFFF99" | '''นรา'''<br/>(narā) || อันว่าพวกผู้ชาย, อันว่าคนทั้งหลาย
บรรทัดที่ 112:
== การสร้างประโยค ==
 
* ประโยคในภาษาบาลีจะเรียงเป็น '''ประธาน + กริยา''' (SV, '''S'''ubject '''V'''erb) หรืออาจเรียกเป็น '''ผู้ทำ + กริยา'''
* คำกริยามีการผันตามประธานเสมอ นั่นคือ ประธานเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ กริยาก็ต้องผันเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ตามลำดับ
 
บรรทัดที่ 125:
| อันว่าคนทั้งหลาย พูดอยู่
|-
| ประธานผู้ทำ<br/>(nom)
| กริยา
|}
บรรทัดที่ 132:
 
=== จงผันคำนาม ===
จงผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปประธานผู้ทำ ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ พร้อมแปลเป็นภาษาไทย
 
{{Div col}}
บรรทัดที่ 153:
! colspan="3" | ตัวอย่างเฉลย
|-
! rowspan="2" | ต้นเค้าคำนาม || colspan="2" | รูปผันประธานผู้ทำ
|-
! เอกพจน์ || พหูพจน์