ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 3"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 56:
# รูป<u>พหูพจน์</u>ในการกนี้ให้เติม '''เ–หิ''' หรือ '''เ–ภิ''' (-ehi, -ebhi) ท้ายต้นเค้าคำนาม รูป "เ–ภิ" เป็นรูปผันโบราณที่ยังพบได้บ้าง
 
เมื่อแปลจะมีความหมายว่า "ด้วย...", "โดย...", "ตาม..." หรือ "กับ..." เนื่องจากกรณการกแสดงถึงเครื่องมือในการกระทำ ทำให้คำนามส่วนใหญ่ที่ผันในรูปนี้เป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ พาหนะ ทาง ตามวัตถุประสงค์ของการผันในหลักนี้
 
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
บรรทัดที่ 75:
| กสฺสก + '''เ-หิ'''/'''เ-ภิ'''<br/>(kassaka + -ehi/-ebhi) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสเกหิ''', '''กสฺสเกภิ'''<br/>(kassakehi, kassakebhi) || กับพวกชาวนา, ตามพวกชาวนา
|}
 
เนื่องจากกรณการกแสดงถึงเครื่องมือในการกระทำ ทำให้คำนามที่ผันรูปนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ พาหนะ ทาง ตามวัตถุประสงค์ของการผันในหลักนี้
 
นอกจากนี้ คำนามที่ใช้ร่วมกับคำบุพบท '''สทฺธิงฺ''' (saddhiṃ) และ '''สห''' (saha) ที่แปลว่า '''พร้อมด้วย''', '''พร้อมกับ''' จะผันตามหลักนี้ ซึ่งคำบุพบททั้งสองนี้จะใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งมีชีวิต ปกติแล้วจะไม่ใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งของ
 
== รูปแบบการสร้างประโยค ==
ประโยคในภาษาบาลีเมื่อมี<u>เครื่องมือ</u>จะเรียงเป็น '''ประธาน + เครื่องมือ + กรรมตรง + กริยา''' (S Inst. O V) เช่น
 
โครงสร้างของประโยคที่มีเครื่องมือในการกระทำ จะเรียงลำดับเป็น '''ประธาน + เครื่องทำ + กรรมตรง + กริยา.''' (S Inst. O V) จะเห็นว่ากรรมตรงและกริยาอยู่ติดกันท้ายประโยคเสมอ
{| cellpadding="2" style="border:1px solid #FF8C00;" align = "center"
|+ '''เอกพจน์'''
|- align = "center"
| Samaṇo || narena || saddhiṃ || gāmaṃ || gacchati.
|- align = "center"
| สมโณ || นเรน || สทฺธึ || คามํ || คจฺฉติ
|- align = "center"
| พระสงฆ์ || ผู้ชาย<br/>(''เครื่องมือ'') || พร้อมกับ || หมู่บ้าน<br/>(''กรรมตรง'') || ไป
|- align = "center"
| colspan="5" | = พระสงฆ์ไปยังหมู่บ้านพร้อมกับผู้ชาย
|}
 
: {| class="wikitable"
 
|}-
{| cellpadding="2" style="border:1px solid #FF8C00;" align = "center"
| ประธาน<br/>(nom)
|- align = "center"
| เครื่องทำ<br/>(inst)
| Putto || mātulena || saha || candaṃ || passati.
| กรรมตรง<br/>(acc)
|- align = "center"
| กริยา
| ปุตฺโต || มาตุเลน || สห || จนฺทํ || ปสฺสติ
|}-
|- align = "center"
<!-- border-style: top right bottom left; -->
| บุตร || ลุง<br/>(''เครื่องมือ'') || พร้อมกับ || ดวงจันทร์<br/>(''กรรมตรง'') || มองดู
! style="border-style: solid none solid solid;background: #FFFF99" | กสฺสโก
|- align = "center"
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | กกเจน
| colspan="5" | = บุตรมองดูดวงจันทร์พร้อมกับลุง
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" | รุกฺขํ
! style="border-style: solid solid solid none; background: #FFFF99" | ฉินฺทติ.
| colspan="4" | = อันว่าชาวนา ตัดอยู่ ซึ่งต้นไม้ ด้วยเลื่อย
|-
! style="border-style: solid none solid solid;background: #FFFF99" | วาณิชา
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | สกเฏหิ
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" | คามํ
! style="border-style: solid solid solid none; background: #FFFF99" | คจฺฉนฺติ.
| อันว่าเหล่าพ่อค้า กำลังไป สู่หมู่บ้าน ด้วยเกวียนทั้งหลาย
|-
! style="border-style: solid none solid solid;background: #FFFF99" | อสฺสา
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | มคฺเคน
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" |
! style="border-style: solid solid solid none; background: #FFFF99" | ธาวนฺติ.
| อันว่าม้าทั้งหลาย วิ่งไป ตามทาง
|}
 
โครงสร้างของประโยคที่มีคำบุพบท '''สทฺธิงฺ''' และ '''สห''' คำบุพบทดังกล่าวจะอยู่ต่อจากคำนามเครื่องทำ เรียงลำดับเป็น ประธาน + เครื่องทำ + '''สทฺธิงฺ, สห''' + กรรมตรง + กริยา.
 
: {| class="wikitable"
{| cellpadding="2" style="border:1px solid #FF8C00;" align = "center"
|-
|- align = "center"
| ประธาน<br/>(nom)
| Kassako || kakacena || rukkhaṃ || chindati.
| เครื่องทำ<br/>(inst)
|- align = "center"
| บุพบท
| กสฺสโก || กกเจน || รุกขํ || ฉินฺทติ
| กรรมตรง<br/>(acc)
|- align = "center"
| กริยา
| ชาวนา || ''(ด้วย)'' เลื่อย<br/>(''เครื่องมือ'') || ต้นไม้<br/>(''กรรมตรง'') || ตัด
|-
|- align = "center"
<!-- border-style: top right bottom left; -->
| colspan="4" | = ชาวนาตัดต้นไม้ด้วยเลื่อย
! style="border-style: solid none solid solid;background: #FFFF99" | นรา
|}
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | ปุตฺเตหิ
 
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | สทฺธิงฺ
 
{| cellpadding="2"! style="border-style: 1pxsolid none solid #FF8C00 none;" align =background: #FFFF99"center" | วิหารํ
! style="border-style: solid solid solid none; background: #FFFF99" | คจฺฉนฺติ.
|+ '''พหูพจน์'''
| อันว่าพวกผู้ชาย กำลังไป ซึ่งวิหาร พร้อมด้วยเหล่าลูกชาย
|- align = "center"
|-
| Samaṇā narehi saddhiṃ gāmaṃ gacchanti. (สมณา นเรหิ สทฺธึ คามํ คจฺฉนฺติ) || = || หมู่พระสงฆ์ไปยังหมู่บ้านพร้อมด้วยพวกผู้ชาย
! style="border-style: solid none solid solid;background: #FFFF99" | ปุตฺโต
|- align = "center"
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | มาตุเลน
| Puttā mātulehi saha candaṃ passanti. (ปุตฺตา มาตุเลหิ สห จนฺทํ ปสฺสนฺติ) || = || พวกบุตรมองดูพระจันทร์พร้อมกับพวกลุง
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99; color: red" | สห
|- align = "center"
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" | จนฺทํ
| Kassakā kakacehi rukkhe chindanti. (กสฺสกา กกเจหิ รุกฺเข ฉินฺทนฺติ) || = || พวกชาวนาตัดต้นไม้ทั้งหลายด้วยเลื่อยทั้งหลาย
! style="border-style: solid solid solid none; background: #FFFF99" | ปสฺสติ.
| อันว่าลูกชาย มองอยู่ ซึ่งดวงจันทร์ พร้อมกับลุง
|}
 
สังเกตว่าเมื่อแปลประโยคจะเริ่มแปลจากประธานแล้วข้ามไปแปลกริยาที่อยู่หลังสุดของประโยคแล้วจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า
 
== แบบฝึกหัด ==