ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 3"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 47:
|}
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง -aอะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>เครื่องมือในการกระทำ</u> มีหลักการดังนี้
 
คำนามที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำหรือ'''เครื่องมือในการกระทำ'''ของประโยค เรียกว่า {{w|การก|กรณการก}} (instrumental case) ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ตติยา''' หรือการผันคำนามลำดับที่สาม ในประโยคภาษาไทย ''ฉันเขียนจดหมาย<u>ด้วยปากกา</u></u>'' คำว่าปากกาทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ โดยใช้คำบุพบท "ด้วย" เป็นตัวบ่งชี้เครื่องทำ
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''เครื่องมือในการกระทำ''' ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ตติยา''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Instrumental หมายถึง นามในประโยคที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการกระทำ เช่น<br/>''ฉันเขียนจดหมาย<u>ด้วยปากกา</u>'' - ''ปากกา'' ทำหน้าที่เป็น เครื่องมือในการกระทำ โดยมีคำว่า ''ด้วย'' เป็นตัวบ่ง<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่เครื่องมือในการกระทำ ออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''ด้วย...'', ''สู่...'', ''โดย...'', ''กับ...'', ''อัน...'' หรือ ''ตาม...''
|}
 
 
: 1. ถ้าคำนามเป็น<u>เอกพจน์</u> ให้<u>เติม -ena</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -เอน /เอนะ/ ท้ายคำ)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|+ '''เอกพจน์ + ชา่ย + เครื่องมือ'''
|- align = "center"
| nara + ena || = || narena (นเรน)
|- align = "center"
| mātula + ena || = || mātulena (มาตุเลน)
|- align = "center"
| kassaka + ena || = || kassakena (กสฺสเกน)
|}
 
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ให้ทำหน้าที่เป็น<u>เครื่องมือในการกระทำ</u>เครื่องทำ มีหลักการผันดังนี้
 
# รูป<u>เอกพจน์</u>ในการกนี้ให้เติมนิคหิต '''เ–น''' (-ena) ท้ายต้นเค้าคำนาม
:: จากการผันข้างต้น ได้ความหมายว่า ด้วยคน, โดยคน, ด้วยลุง, โดยลุง, กับลุง, ด้วยชาวนา, โดยชาวนา, กับชาวนา, อันชาวนา, ฯลฯ
# รูป<u>พหูพจน์</u>ในการกนี้ให้เติม '''เ–หิ''' หรือ '''เ–ภิ''' (-ehi, -ebhi) ท้ายต้นเค้าคำนาม รูป "เ–ภิ" เป็นรูปผันโบราณที่ยังพบได้บ้าง
 
เมื่อแปลจะมีความหมายว่า "ด้วย...", "โดย...", "ตาม..." หรือ "กับ..."
: 2. ถ้าคำนามเป็น<u>พหูพจน์</u> ให้<u>เติม -ehi</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -เอหิ ท้ายคำ)
:: <u>หมายเหตุ</u> ในภาษาบาลีโบราณ จะใช้ -ebhi แทน -ehi
 
{| cellpaddingclass="2wikitable" style="bordertext-align: 1px solid #FF8C00center;" align = "center"
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | เครื่องทำ เอกพจน์
|+ '''พหูพจน์ + ชา่ย + เครื่องมือ'''
|}-
|- align = "center"
| รถ + '''เ-น'''<br/>(ratha + -ena) || → || style="background: #FFFF99" | '''รเถน'''<br/>(rathena) || ด้วยรถ, โดยรถ
| nara + ehi || = || narehi (นเรหิ)
|}-
|- align = "center"
| ขคฺค + '''เ-น'''<br/>(khagga + -ena) || → || style="background: #FFFF99" | '''ขคฺเคน'''<br/>(khaggena) || ด้วยดาบ, โดยดาบ
| mātula + ehi || = || mātulehi (มาตุเลหิ)
|-
|- align = "center"
| กสฺสก + '''เ-น'''<br/>(kassaka + -ena) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสเกน'''<br/>(kassakena) || กับชาวนา, ตามชาวนา
| kassaka + ehi || = || kassakehi (กสฺสเกหิ)
|-
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | เครื่องทำ พหูพจน์
|-
| รถ + '''เ-หิ'''/'''เ-ภิ'''<br/>(ratha + -ehi/-ebhi) || → || style="background: #FFFF99" | '''รเถหิ''', '''รเถภิ'''<br/>(rathehi, rathebhi) || ด้วยรถทั้งหลาย, โดยรถทั้งหลาย
|-
| ขคฺค + '''เ-หิ'''/'''เ-ภิ'''<br/>(mātula + -ehi/-ebhi) || → || style="background: #FFFF99" | '''ขคฺเคหิ''', '''ขคฺเคภิ'''<br/>(khaggehi, khaggebhi) || ด้วยดาบทั้งหลาย, โดยดาบทั้งหลาย
|-
| กสฺสก + '''เ-หิ'''/'''เ-ภิ'''<br/>(kassaka + -ehi/-ebhi) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสเกหิ''', '''กสฺสเกภิ'''<br/>(kassakehi, kassakebhi) || กับพวกชาวนา, ตามพวกชาวนา
|}
 
เนื่องจากกรณการกแสดงถึงเครื่องมือในการกระทำ ทำให้คำนามที่ผันรูปนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ พาหนะ ทาง ตามวัตถุประสงค์ของการผันในหลักนี้
 
: 3.นอกจากนี้ คำนามที่ใช้ร่วมกับคำบุพบท '''saddhiṃสทฺธิงฺ''' (สทฺธิงฺsaddhiṃ) และ '''sahaสห''' (สหsaha) ที่แปลว่า '''พร้อมด้วย''', '''พร้อมกับ''' จะผันตามหลักนี้ (ซึ่งคำนามผันการกเครื่องมือ + saddhiṃ, saha) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้บุพบททั้งสองตัวนี้จะใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งมีชีวิต ปกติแล้วจะไม่นิยมใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งของ
 
== รูปแบบประโยค ==