ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 69:
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง มีหลักการผันดังนี้
 
# รูป<u>เอกพจน์</u>ในการกนี้ให้เติมนิคหิต '''-ํ''' (-ṃ) ท้ายต้นเค้าคำนาม (ออกเสียงเป็น –ัง)
# รูป<u>พหูพจน์</u>ในการกนี้ให้เติม '''เ–''' (-e) ท้ายต้นเค้าคำนาม
 
บรรทัดที่ 77:
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | กรรมตรง เอกพจน์
|-
| นร + '''-ํ'''<br/>(nara + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''นรํ'''<br/>(naraṃ) || ซึ่งคน, ซึ่งผู้ชาย
|-
| มาตุล + '''-ํ'''<br/>(mātula + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''มาตุลํ'''<br/>(mātulaṃ) || ซึ่งลุง
|-
| กสฺสก + '''-ํ'''<br/>(kassaka + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสกํ'''<br/>(kassakaṃ) || ซึ่งชาวนา
|-
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | กรรมตรง พหูพจน์
บรรทัดที่ 96:
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
|-
| คาม + '''-ํ''' || → || style="background: #FFFF99" | '''คามํ''' || สู่หมู่บ้าน, ยังหมู่บ้าน
|-
| ปพฺพต + '''-ํ''' || → || style="background: #FFFF99" | '''ปพฺพตํ''' || สู่ภูเขา, ยังภูเขา
|-
| คาม + '''เ-''' || → || style="background: #FFFF99" | '''คาเม''' || สู่หมู่บ้านทั้งหลาย
|}
 
ซึ่งคำนามดังกล่าวยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมได้อยู่เอง การจะแปล "คามํ”มํ" ว่าสู่หมู่บ้าน หรือซึ่งหมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ
 
== การสร้างประโยค ==