ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/รายการคำศัพท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย "== รายการคำกริยา == {|class="wikitable sortable" ! คำศัพท์ || ความหมาย || บทที่ |- | {{wt|อาคจฺฉติ}} || มา || 1 |- | {{wt|อาหรติ}} || นำมา || 2 |- | {{wt|อารุหติ}} || ขึ้น, ปีนขึ้น || 2 |- | {{wt|โอรุหติ}} || ลง || 2 |- | {{wt|กสติ}} || ไถนา || 1 |- | {{wt|ขณติ}} ||..."
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:42, 13 มกราคม 2565

รายการคำกริยา

คำศัพท์ ความหมาย บทที่
อาคจฺฉติ มา 1
อาหรติ นำมา 2
อารุหติ ขึ้น, ปีนขึ้น 2
โอรุหติ ลง 2
กสติ ไถนา 1
ขณติ ขุด 2
คจฺฉติ ไป 1
ฉินฺทติ ตัด 1
ธาวติ วิ่ง 1
ปจติ ทำอาหาร, หุง (ข้าว) 1
ปหรติ ทุบ, ตี, โจมตี 2
ปสฺสติ เห็น, มอง, ดู 1
ภาสติ พูด 1
ภุญฺชติ กิน 1
หรติ ถือ, นำไป, หยิบไป 2
ยาจติ ขอ 2
รกฺขติ ปกป้อง 2
สยติ นอน 1
วนฺทติ บูชา, ไหว้, ทำความเคารพ 2
วิชฺฌติ ยิง 2

รายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยา

ช = เพศชาย
ญ = เพศหญิง
ก = เพศกลาง
คำศัพท์ ความหมาย บทที่
อาวาฏ ช. หลุม, บ่อ 2
โอทน ช. ข้าวสวย 2
กสฺสก ช. ชาวนา 1
กุกฺกุร ช. หมา 2
กุมาร ช. เด็กชาย 1
คาม ช. หมู่บ้าน 2
จนฺท ช. ดวงจันทร์ 2
นร ช. คน; ผู้ชาย 1
ปุตฺต ช. ลูกชาย, บุตร 1
ปุริส ช. ผู้ชาย 1
ตถาคต ช. พระพุทธเจ้า 1
ธมฺม ช. ธรรม, คำสอน; ความจริง 2
ปตฺต ช. ถ้วย, ชาม, บาตร 2
ปพฺพต ช. ภูเขา, บรรพต 2
พุทฺธ ช. พระพุทธเจ้า 1
พฺราหฺมณ ช. พราหมณ์ 1
ภตฺต ช. ข้าว 2
ภูปาล ช. พระราชา, กษัตริย์ 1
มนุสฺส ช. มนุษย์ 1
มาตุล ช. ลุง 1
มิตฺต ช. เพื่อน, มิตร 1
ยาจก ช. ขอทาน, ยาจก 2
รุกฺข ช. ต้นไม้ 2
สหาย ช. เพื่อน, สหาย 1
สหายก ช. เพื่อน 1
สิคาล ช. แจ็กคัล (หมาจิ้งจอกทอง) 2
สุคต ช. พระพุทธเจ้า 1
สุนข ช. หมา, สุนัข 2
สุริย ช. ดวงอาทิตย์, สุริยะ 2
โสณ ช. หมา 2
วาณิช ช. พ่อค้า 1
วิหาร ช. วิหาร, โบสถ์ 2

สารบัญ

บทนำ - การอ่านออกเสียง
บทที่ 1 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ รูปเอกพจน์และพหูพจน์, การผันกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 2 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 3 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 4 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นต้นกำเนิด รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 5 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 6 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าของ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 7 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นสถานที่ รูปเอกพจน์และพหูพจน์
บทที่ 8 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นคำร้องเรียก รูปเอกพจน์และพหูพจน์, การผันคำนามเพศกลางที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ
บทที่ 9 - การสร้างคำนามจากกริยา
บทที่ 10 - การผันคำกริยาเพื่อไม่ให้ระบุกาล
บทที่ 11 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน, การผันคำนามเพศชายและเพศกลาง
บทที่ 12 - การผันคำกริยาในกาลปัจจุบัน และบอกความเป็นผู้กระทำ
บทที่ 13 - การผันคำกริยาในกาลปัจจุบัน และบอกความเป็นผู้กระทำ (ภาคต่อ)
บทที่ 14 - การผันคำกริยาเพื่อบอกกาลอนาคต
บทที่ 15 - การผันคำกริยาเพื่อบอกความเป็นไปได้และคำแนะนำ
บทที่ 16 - การผันคำกริยาเพื่อบอกคำสั่ง
บทที่ 17 - การผันคำกริยาเพื่อบอกกาลอดีต
บทที่ 18 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อา
บทที่ 19 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น
บทที่ 20 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ และ อี
บทที่ 21 - การผันคำกริยาเพื่อบอกเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน (ภาคต่อ), การผันคำนามเพศหญิง
บทที่ 22 - การผันคำกริยาเพื่อบอกความเป็นผู้ถูกกระทำในกาลอนาคต
บทที่ 23 - การผันคำกริยาเพื่อบอกการไหว้วานหรือการบังคับ
บทที่ 24 - การผันคำนามเพศหญิงที่ลงท้ายด้วยเสียง อุ
บทที่ 25 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ
บทที่ 26 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อี
บทที่ 27 - การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อุ และ อู
บทที่ 28 - การผันคำนามของผู้กระทำกริยา และคำนามที่บ่งบอกความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
บทที่ 29 - การผันคำนามเพศกลางที่ลงท้ายด้วยเสียง อิ และ อุ
บทที่ 30 - การผันคำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -วนฺตุ และ -มนฺตุ
บทที่ 31 - การผันคำสรรพนามบอกบุรุษ
บทที่ 32 - การผันคำสรรพนามบอกบุรุษ สรรพนามบอกความสัมพันธ์ สรรพนามบอกระยะ และสรรพนามบอกคำถาม
ภาคผนวก - รายการคำกริยาในภาษาบาลี, รายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยาในภาษาบาลี