ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 105:
ซึ่งคำนามดังกล่าวยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมได้อยู่เอง การจะแปล “คามํ” ว่าสู่หมู่บ้าน หรือซึ่งหมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ
 
== รูปแบบการสร้างประโยค ==
ประโยคในภาษาบาลีเมื่อมีกรรมมารองรับ จะเรียงเป็น '''ประธาน + กรรม + กริยา''' (SOV - '''S'''ubject '''O'''bject '''V'''erb) เช่น
 
ประโยคที่จะมีคำนามรูปกรรมตรงได้นั้น คำกริยาหลักของประโยคต้องเป็นกริยาชนิดที่ต้องการกรรม หรือเป็นกริยาแสดงการเคลื่อนที่หรือการเดินทาง
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|+ '''เอกพจน์'''
|- align = "center"
| Putto <u>naraṃ</u> passati. (ปุตฺโต นรํ ปสฺสติ) || = || บุตรเห็นผู้ชาย
|- align = "center"
| Brāhmaṇo <u>mātulaṃ</u> rakkhati. (พฺราหฺมโณ มาตุลํ รกฺขติ) || = || พราหมณ์ปกป้องลุง
|- align = "center"
| Vāṇijo <u>kassakaṃ</u> paharati. (วาณิโช กสฺสกํ ปหรติ) || = || พ่อค้าทุบตีชาวนา
|}
 
โครงสร้างของประโยคที่มีกรรมตรง จะเรียงลำดับเป็น '''ประธาน + กรรมตรง + กริยา.''' (เทียบเท่ากับ SOV - '''S'''ubject '''O'''bject '''V'''erb) จะเห็นว่าคำกริยาตกอยู่ท้ายประโยค และกรรมตรงอยู่หน้าคำกริยา
 
: {| class="wikitable"
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
<!-- border-style: top right bottom left; -->
|+ '''พหูพจน์'''
! style="border-style: solid none solid solid;" | นโร
|- align = "center"
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" | ปุตฺตํ
| Puttā <u>nare</u> passanti. (ปุตฺตา นเร ปสฺสนฺติ) || = || พวกบุตรเห็นพวกผู้ชาย
! style="border-style: solid solid solid none;" | ปสฺสติ.
|- align = "center"
| อันว่าผู้ชาย เห็นอยู่ ซึ่งลูกชาย
| Brāhmaṇā <u>mātule</u> rakkhanti. (พฺราหฺมณา มาตุเล รกฺขนฺติ) || = || พวกพราหมณ์ปกป้องพวกลุง
|}-
|- align = "center"
! style="border-style: solid none solid solid;" | วาณิชา
| Vāṇijā <u>kassake</u> paharanti. (วาณิชา กสฺสเก ปหรนฺติ) || = || พวกพ่อค้าทุบตีพวกชาวนา
! style="border-style: solid none solid none; background: #FFFF99" | คามํ
! style="border-style: solid solid solid none;" | คจฺฉนฺติ.
| อันว่าเหล่าพ่อค้า กำลังไป สู่หมู่บ้าน
|-
| ประธาน<br/>(nom)
| กรรมตรง<br/>(acc)
| กริยา
|}
 
ให้สังเกตว่าคำกริยาจะผันตามคำนามประธานเสมอ ไม่ว่าคำนามกรรมตรงจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ก็ไม่มีผลต่อคำกริยานั้น
:# นโร '''ปุตฺตํ''' ปสฺสติ. – ผู้ชายเห็นลูกชาย
:# นโร '''ปุตฺเต''' ปสฺสติ. – ผู้ชายเห็นพวกลูกชาย
:# นรา '''ปุตฺตํ''' ปสฺสนฺติ. – พวกผู้ชายเห็นลูกชาย
:# นรา '''ปุตฺเต''' ปสฺสนฺติ. – พวกผู้ชายเห็นพวกลูกชาย
 
เนื่องจากกรรมการกในประโยคเป็นได้สองหน้าที่คือเป็นผู้ถูกกระทำโดยตรงและจุดหมายปลายทาง ทำให้เกิดประโยคที่ประกอบด้วยคำนามกรรมตรงสองคำได้ เช่น
:: กสฺสกา '''คามํ ภตฺตํ''' หรนฺติ. – ชาวนาทั้งหลายนำข้าวไปยังหมู่บ้าน
 
== แบบฝึกหัด ==