ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 63:
|}
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง -aอะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>กรรมตรง</u>ของประโยค มีหลักการดังนี้
 
คำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงหรือผู้ถูกกระทำโดยตรงของประโยค เรียกว่า {{w|การก|กรรมการก}} (accusative case) ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ทุติยา''' หรือการผันคำนามลำดับที่สอง ประโยค ''ฉันกิน<u>ข้าว</u>'' คำว่าข้าวทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วนประโยค ''แม่ให้<u>ขนม</u>แก่<u>น้อง</u>'' คำว่าขนมทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วน "น้อง" ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่งจะมีในบทถัดไป
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''กรรมตรง''' ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ทุติยา''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Accusative หมายถึง นามในประโยคที่ทำหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำ (โดยตรง) เช่น<br/>''ฉันกิน<u>ข้าว</u>'' - ''ข้าว'' ทำหน้าที่เป็น กรรมตรง<br/>''แม่ให้<u>ขนม</u>แก่<u>น้อง</u>'' - ''ขนม'' ทำหน้าที่เป็น กรรมตรง (ส่วน ''น้อง'' ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่งจะมีในหัวข้อต่อไป)<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่กรรมตรงออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''ซึ่ง...'' หรือ ''สู่...''
|}
 
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ให้ทำหน้าที่เป็น<u>กรรมตรง</u>ของประโยค มีหลักการผันดังนี้
 
:# 1. ถ้าต้องการให้เป็นรูป<u>เอกพจน์ </u>ในการกนี้ให้เติมนิคหิต '''-ํ''' (-ṃ) ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติมออกเสียงเป็น ํ - นิคหิต ท้ายคำ–ัง)
:# 2. ถ้าต้องการให้เป็นรูป<u>พหูพจน์ </u>ในการกนี้ให้เติม '''เ–''' (-e) ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม
 
เมื่อแปลจะมีความหมายว่า "ซึ่ง..." (หรือ "สู่...", "ยัง..." เมื่อแสดงจุดหมายปลายทาง) ซึ่งบางครั้งสามารถละไว้ไม่เขียนได้โดยที่ยังเข้าใจความหมายอยู่
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|+ '''เอกพจน์ + ชา่ย + กรรมตรง'''
|- align = "center"
| nara + ṃ || = || naraṃ (นรํ)
|- align = "center"
| mātula + ṃ || = || mātulaṃ (มาตุลํ)
|- align = "center"
| kassaka + ṃ || = || kassakaṃ (กสฺสกํ)
|}
 
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
 
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | กรรมตรง เอกพจน์
: 2. ถ้าต้องการให้เป็นพหูพจน์ ให้เติม -e ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม
|}-
 
| นร + '''-ํ'''<br/>(nara + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''นรํ'''<br/>(naraṃ) || ซึ่งคน, ซึ่งผู้ชาย
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|}-
|+ '''พหูพจน์ + ชา่ย + กรรมตรง'''
| มาตุล + '''-ํ'''<br/>(mātula + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''มาตุลํ'''<br/>(mātulaṃ) || ซึ่งลุง
|- align = "center"
|-
| nara + e || = || nare (นเร)
| กสฺสก + '''-ํ'''<br/>(kassaka + -ṃ) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสกํ'''<br/>(kassakaṃ) || ซึ่งชาวนา
|- align = "center"
|-
| mātula + e || = || mātule (มาตุเล)
! ต้นเค้าคำนาม + รูปผัน || || colspan="2" | กรรมตรง พหูพจน์
|- align = "center"
|-
| kassaka + e || = || kassake (กสฺสเก)
| นร + '''เ-'''<br/>(nara + -e) || → || style="background: #FFFF99" | '''นเร'''<br/>(nare) || ซึ่งคนทั้งหลาย, ซึ่งเหล่าผู้ชาย
|-
| มาตุล + '''เ-'''<br/>(mātula + -e) || → || style="background: #FFFF99" | '''มาตุเล'''<br/>(mātule) || ซึ่งลุงทั้งหลาย
|-
| กสฺสก + '''เ-'''<br/>(kassaka + -e) || → || style="background: #FFFF99" | '''กสฺสเก'''<br/>(kassake) || ซึ่งเหล่าชาวนา
|}
 
นอกจากการผันรูปแบบนี้จะทำให้คำนามที่ทำหน้าที่ในประโยคเป็นกรรมตรงแล้ว ยังสามารถทำหน้าที่เป็น<u>'''จุดหมายปลายทางของการเดินทางหรือการเคลื่อนที่</u>ได้''' ยังผันในรูปกรรมตรงอีกด้วย ส่วนใหญ่เป็นคำนามสถานที่ เช่น
 
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
นอกจากการผันรูปแบบนี้จะทำให้คำนามทำหน้าที่เป็นกรรมตรงแล้ว ยังสามารถทำหน้าที่เป็น<u>จุดหมายปลายทางของการเดินทางหรือการเคลื่อนที่</u>ได้อีกด้วย เช่น
|-
 
| คาม + '''-ํ''' || → || style="background: #FFFF99" | '''คามํ''' || สู่หมู่บ้าน, ยังหมู่บ้าน
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|-
|- align = "center"
| ปพฺพต + '''-ํ''' || → || style="background: #FFFF99" | '''ปพฺพตํ''' || สู่ภูเขา, ยังภูเขา
| Bhūpālo <u>gāmaṃ</u> gacchati. (ภูปาโล คามํ คจฺฉติ) = พระราชาเสด็จสู่<u>หมู่บ้าน</u>
|-
| คาม + '''เ-''' || → || style="background: #FFFF99" | '''คาเม''' || สู่หมู่บ้านทั้งหลาย
|}
 
ซึ่งคำนามดังกล่าวยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมได้อยู่เอง การจะแปล “คามํ” ว่าสู่หมู่บ้าน หรือซึ่งหมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ
 
== รูปแบบประโยค ==