ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/สระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัดที่ 2:
'''สระ''' หมายถึง เครื่องหมายใช้แทนเสียงที่เปล่งออกมา ตามหลักภาษา ถือว่าพยัญชนะจำเป็นต้องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได้
 
เอ๋อ
== รูปสระ ==
รูปสระในภาษาไทยมี 21 รูป ซึ่งรูปสระเหล่านี้จะนำไปประกอบเป็นรูปสระที่ใช้แทนเสียงสระ
{{col-begin}}
{{col-3}}
* '''ะ''' เรียกว่า วิสรรชนีย์ หรือ นมนางทั้งคู่
* ''' ั''' เรียกว่า ไม้หันอากาศ, หางกังหัน หรือ ไม้ผัด
* ''' ็''' เรียกว่า ไม้ไต่คู้ หรือ ไม้ตายคู้
* '''า''' เรียกว่า ลากข้าง
* ''' ิ''' เรียกว่า พินทุ์อิ หรือ พินทุอิ
* ''' ่''' เรียกว่า ฝนทอง
* ''' ํ''' เรียกว่า นิคหิต, นฤคหิต หรือ หยาดน้ำค้าง
{{col-3}}
* '''"''' เรียกว่า ฟันหนู หรือ มูสิกทันต์
* ''' ุ''' เรียกว่า ตีนเหยียด หรือ ลากตีน
* ''' ู''' เรียกว่า ตีนคู้
* '''เ''' เรียกว่า ไม้หน้า
* '''ใ''' เรียกว่า ไม้ม้วน
* '''ไ''' เรียกว่า ไม้มลาย
* '''โ''' เรียกว่า ไม้โอ
{{col-3}}
* '''อ''' เรียกว่า ตัวออ
* '''ย''' เรียกว่า ตัวยอ
* '''ว''' เรียกว่า ตัววอ
* '''ฤ''' เรียกว่า ตัวรึ
* '''ฤๅ''' เรียกว่า ตัวรือ
* '''ฦ''' เรียกว่า ตัวลึ (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว)
* '''ฦๅ''' เรียกว่า ตัวลือ (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว)
{{col-end}}
 
== เสียงสระ ==