ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบการปกครอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัดที่ 28:
การปกครองระบอบอัตตาธิปไตย (Autocracy) เป็นระบอบการปกครองที่อำนาจสูงสุดรวมศูนย์อยู่ในมือของบุคคลคนเดียว ที่สามารถตัดสินใจได้อย่างไม่จำกัดโดยกฎหมายหรือกลไกการควบคุมที่ประชาชนตั้งขึ้น (อาจยกเว้นเมื่อคุกคามโดยปริยายด้วยรัฐประหารหรือการก่อการกำเริบของมวลชน)
# การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นระบอบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์ พระจักรพรรดิ หรือ สมมติเทพ ทรงเป็นประมุขของรัฐ และมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ โดยคำสั่งและความต้องการต่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์ล้วนมีผลเป็นกฎหมายทั้งสิ้น พระมหากษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและประชาชนโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะสามารถห้ามปรามได้ และจะมีการใช้วิธีการสืบสันตติวงศ์ เพื่อสืบทอดตำแหน่งประมุขของรัฐต่อไป
## การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม (Enlightened Absolutism) เป็นระบอบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์ พระจักรพรรดิ หรือ สมมติเทพ ทรงเป็นประมุขของรัฐ ซึ่งจะเรียกว่า ''ประมุขผู้ทรงภูมิธรรม (Enlightened despots) '' ซึ่งระบอบนี้เป็นระบอบที่ได้รับอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญา โดยพระมหากษัตริย์มีแนวโน้มที่จะมีพระบรมราชานุญาตให้มีหลักขันติธรรมทางศาสนาและเสรีภาพ รวมถึงสิทธิ์ของประชาชนทั่วไปในการครอบครองทรัพย์สิน อันเป็นการช่วยสร้างความเจริญก้าวหน้าทางศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์และการศึกษา
# การปกครองระบอบเผด็จการ (Dictatorship) เป็นรูปแบบการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
 
=== แบ่งตามการเลือกตั้งรัฐบาล ===
# แบบประชาธิปไตย ที่มีอำนาจเป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ซึ่งแบ่งเป็น 2 คือ
## แบบตรง ประชาชนมีสิทธิ์ลงคะแนนโหวตทุกคนทั้ง..ออกกฏหมายกฎหมาย บริหาร และตุลาการ โดยเรียกว่า "ลงประชามติ" เหมาะสำหรับนครรัฐที่มีประชากรไม่กี่แสนคน
## แบบอ้อม ประชาชนจะเลือกตัวแทนตนเอง เข้าไปทำหน้าที่ในการปกครองใน 3 อำนาจหลัก
 
บรรทัดที่ 39:
สามอำนาจหลักในการปกครองที่ประชาชนตัวแทนไปทำหน้าที่ คือ
 
1. Legislative Power นิติบัญญัติ เลือกตัวแทนประชาชนเข้าไปโหวตออกกฏหมายกฎหมายในสภา แบ่งเป็น
 
1.1 สภาล่าง (Lower House) มีหน้าที่ตราร่างออกฏหมายกฎหมาย เรียกว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)
 
1.2 สภาบน (Upper House) มีหน้าที่กลั่นกรองกฏหมายกฎหมาย เรียกว่า วุฒิสมาชิก (ส.ว.)
 
2.Executive Power เลือกตัวแทนประชาชนไปบริหารเงินภาษีใช้บำรุงพัฒนาประเทศให้ประชาชนอยู่ดีกินดี เรียกว่ารัฐบาล มีทั้งส่วนกลาง เช่นเลือกนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรีไปเลือกคณะรัฐมนตรี และส่วนท้องถิ่น เช่นเลือกผู้ว่าราชการ และนายอำเภอ
 
3.Judicial Power ตุลาการ ประชาชนเลือกตัวแทนไปเป็นคณะลูกขุนมีหน้าที่ตัดสินคดีความ ส่วนศาลหรือผู้พิพากษาที่แต่งตั้งโดยรัฐมีหน้าที่ชี้แนะข้อกฏหมายกฎหมายแต่ไม่มีอำนาจตัดสิน
 
ระยะเวลาหรือเทอมในการให้อำนาจตัวแทนประชาชน มีเวลาจำกัด ระหว่าง 4-5 ปี และให้ตำแหน่งฝ่ายบริหารจำกัดไม่เกิน 2 สมัย หรือมากกว่าแล้วแต่ประเทศ เพื่อป้องกันการผูกขาดอำนาจ
บรรทัดที่ 60:
 
การปกครองจึงแบ่งตามอำนาจที่ใช้ปกครองประเทศ และการถือครองทรัพย์สินระหว่างรัฐและเอกชน
 
== ผลกระทบของการว่างงาน ==
* [[สังคมศาสตร์]]
 
[[หมวดหมู่:สังคมศาสตร์]]