ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 5"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pitpisit (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9:
! colspan="3" scope="col" style="background: SteelBlue; color: white" | คำนาม (เพศชาย + ลงท้ายด้วย -a /อะ/)
|- style="background: LightCyan"
|| ตาปส || tāpasa || ฤๅษี, [[:wikt:ดาบส|<u>ดาบส</u>]]
|- style="background: LightCyan"
|| สีห || sīha || สิงห์ (พระที่นั่ง<u>สีห</u>บัญชร - พระที่นั่งที่มีหน้าต่างเป็นสิงห์)
|- style="background: LightCyan"
|| วานร, มกฺขฎ || vānara, makkhaṭa || ลิง ([[:wikt:วานร|<u>วานร</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| กุทฺทาล || kuddāla || จอบ
|- style="background: LightCyan"
|| อาจริยา || ācariya || [[:wikt:อาจารย์|<u>อาจารย์</u>]] (ภาษาสันสกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| ลุทฺทก || luddaka || นายพราน
|- style="background: LightCyan"
|| ลาภ || lābha || [[:wikt:ลาภ|<u>ลาภ</u>]], ผลประโยชน์
|- style="background: LightCyan"
|| เวชฺช || vejja || หมอ ([[:wikt:เวช|<u>เวช</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| อชา || aja || แกะ
บรรทัดที่ 35:
|| ปวิสติ || pavisati || เข้าไป
|- style="background: PaleGreen"
|| กีฬติ || kīḷati || เล่น ([[:wikt:กีฬา|<u>กีฬา</u>]])
|- style="background: PaleGreen"
|| ปชหติ || pajahati || ยกเลิก, ละทิ้ง
|- style="background: PaleGreen"
|| หสติ || hasati || หัวเราะ ([[:wikt:กีฬา|<u>หรรษา</u>]] ในภาษาสันสกฤต)
|- style="background: PaleGreen"
|| ททาติ || dadāti (พหูพจน์คือ dadanti - ททนฺติ) || ให้
บรรทัดที่ 53:
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>กรรมรอง</u> มีหลักการดังนี้
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''กรรมรอง''' (ที่หมายของกริยา) ในภาษาบาลีเรียกว่า '''จตุตถี''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Dative เช่น<br/>''ฉันให้ขนม<u>แก่น้อง</u>'' - ''น้อง'' ทำหน้าที่เป็น กรรมรอง โดยมีคำว่า ''แก่'' เป็นตัวบ่ง<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่<u>กรรมรอง</u>ออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''แก่...'', ''เพื่อ...'' หรือ ''ต่อ...''
|}
 
 
: 1. ถ้าต้องการให้เป็น<u>เอกพจน์</u> ให้<u>เติม -āya</u> หรือ <u>-ssa</u> ลงที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -อาย, -สฺส)
:: ที่ต้องมีการผันสองแบบ ก็เพื่อความสะดวกในการลงสัมผัสในบทประพันธ์
 
บรรทัดที่ 75:
 
 
: 2. ถ้าต้องการให้เป็น<u>พหูพจน์</u> ให้<u>เติม -ānaṃ</u> ลงที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -อานํ)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
บรรทัดที่ 93:
|+ '''เอกพจน์'''
|- align = "center"
| Dhīvaro <u>narāya</u> macchaṃ āharati. (ธีวโร นราย มจฺฉํ อาหรติ) || = || ชาวประมงนำปลามาให้<u>แก่ผู้ชาย</u>
|- align = "center"
| Putto <u>mātulassa</u> odanaṃ dadāti. (ปุตโต มาตุลสฺส โอทนํ ททาติ) || = || บุตรให้ข้าวสุก<u>แก่ลุง</u>
|- align = "center"
| Vāṇijo <u>kassakassa</u> ajaṃ dadāti. (วาณิโช กสกสฺส อชํ ททาติ) || = || พ่อค้าให้แพะ<u>แก่ชาวนา</u>
|}
 
บรรทัดที่ 104:
|+ '''พหูพจน์'''
|- align = "center"
| Dhīvarā <u>narānaṃ</u> macche āharanti. (ธีวรา นรานํ มจฺเฉ อาหรนฺติ) || = || พวกชาวประมงนำปลาทั้งหลายมาให้<u>แก่ผู้ชายทั้งหลาย</u>
|- align = "center"
| Puttā <u>mātulānaṃ</u> odanaṃ dadanti. (ปุตตา มาตุลานํ โอทนํ ททนฺติ) || = || พวกบุตรให้ข้าวสุก<u>แก่พวกลุง</u>
|- align = "center"
| Vāṇijā <u>kassakānaṃ</u> aje dadanti. (วาณิชา กสกานํ อเช ททนฺติ) || = || พวกพ่อค้าให้แพะทั้งหลาย<u>แก่พวกชาวนา</u>
|}
 
 
=== วิธีการจดจำลำดับคำของประโยคภาษาบาลี ===
* ลำดับ<u>คำหลัก</u>ของประโยคคือ ประธาน + ส่วนขยายกริยา + กรรมตรง + กริยา (S Adv O V)
* ลำดับคำของ<u>ส่วนขยาย</u>กริยาจะเป็นแบบถอยหลัง เริ่มจากที่มาของกริยาไว้หลังสุด ตามด้วยเครื่องมือไว้ตรงกลาง แล้วจบด้วยที่หมายของกริยา (กรรมรอง) ไว้หน้าสุด (Adv = IO Inst Src)
 
== แบบฝึกหัด ==