ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 11:
|| ธีวร || dhīvara || ชาวประมง
|- style="background: LightCyan"
|| อมจฺจา || amacca || [[:wikt:อำมาตย์|<u>อำมาตย์</u>]], [[:wikt:อมาตย์|<u>อมาตย์<u>]] (ภาษาสันสกฤต) (เทียบเท่าตำแหน่งรัฐมนตรีในปัจจุบัน)
|- style="background: LightCyan"
|| ทารก || dāraka || [[:wikt:ทารก|<u>ทารก</u>]], เด็กผู้ชาย
|- style="background: LightCyan"
|| สปฺป || sappa || งูใหญ่
บรรทัดที่ 19:
|| โสปาน || sopāna || บันได
|- style="background: LightCyan"
|| มจฺฉ || maccha || ปลา ([[:wikt:มัจฉา|<u>มัจฉา</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| อุปาสก || upāsaka || [[:wikt:อุบาสก|<u>อุบาสก</u>]]
|- style="background: LightCyan"
|| สาฏก || sāṭaka || เสื้อผ้า
|- style="background: LightCyan"
|| ปญฺห || pañha || [[:wikt:ปัญหา|<u>ปัญหา</u>]]
|- style="background: LightCyan"
|| สูกร, วราห || sūkara, varāha || หมู ([[:wikt:สุกร|<u>สุกร</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| ปิฏก || piṭaka || ตะกร้า (พระไตร<u>ปิฎก</u> = สามตะกร้า)
|- style="background: LightCyan"
|| ปาสาท || pāsāda || [[:wikt:ปราสาท|<u>ปราสาท</u>]] (ภาษาสันสกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| รชก || rajaka || คนซักผ้า
บรรทัดที่ 49:
|| โธวติ || dhovati || ล้าง
|- style="background: PaleGreen"
|| ปุจฺฉติ || pucchati || ถาม ([[:wikt:ปุจฉา|<u>ปุจฉา</u>]])
|- style="background: PaleGreen"
|| หนติ || hanati || ฆ่า
|- style="background: PaleGreen"
|| อิจฺฉติ || icchati || ปรารถนา, ต้องการ<br/>([[:wikt:อิจฉา|<u>อิจฉา</u>]] - คนไทยยืมคำนี้มาใช้โดยผิดไปจากความหมายเดิมในภาษาบาลี)
|- style="background: PaleGreen"
|| ปกฺโกสติ || pakkosati || เรียก, เรียกตัว
บรรทัดที่ 61:
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>ที่มาของกริยา</u> มีหลักการดังนี้
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''ที่มาของกริยา''' ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ปัญจมี''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Ablative เช่น<br/>''ฉันขอขนม<u>จากแม่</u>'' - ''แม่'' ทำหน้าที่เป็น ที่มาของกริยา โดยมีคำว่า ''จาก'' เป็นตัวบ่ง<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่<u>ที่มาของกริยา</u>ออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''แต่...'', ''จาก...'' หรือ ''กว่า...''
|}
 
: 1. ถ้าต้องการให้เป็น<u>เอกพจน์</u> ให้<u>เติม</u> <u>-ā</u>, <u>-mhā</u>, หรือ <u>-smā</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -อา, -มฺหา, -สมา)
:: ที่ต้องมีการผันได้หลายแบบ ก็เพื่อให้สามารถลงสัมผัสในคำประพันธ์ได้
 
บรรทัดที่ 84:
:: จากประโยคข้างต้น มีความหมายว่า ''จากผู้ชาย, จากลุง, จากชาวนา'' ตามลำดับ
 
: 2. ถ้าต้องการให้เป็น<u>พหูพจน์</u> ให้<u>เติม -ehi</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -เอหิ)
:: ถ้าในภาษาบาลีโบราณจะเป็น -ebhi (-เอภิ) เช่น narebhi (นเรภิ)