ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 3"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9:
! colspan="3" scope="col" style="background: SteelBlue; color: white" | คำนาม (เพศชาย + ลงท้ายด้วย -a /อะ/)
|- style="background: LightCyan"
|| รถ || ratha || [[:wikt:รถ|<u>รถ</u>]], พาหนะ, รถศึก
|- style="background: LightCyan"
|| ปาท || pāda || เท้า ([[:wikt:บาท|<u>บาท</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| สาวก || sāvaka || ลูกศิษย์ ([[:wikt:สาวก|<u>สาวก</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| อสฺส || assa || ม้า ([[:wikt:สาวก|<u>อัศวะ</u>]] ในภาษาสันสกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| ปาสาณ || pāsāṇa || หิน, ก้อนหิน
|- style="background: LightCyan"
|| โจร || cora || [[:wikt:โจร|<u>โจร</u>]]
|- style="background: LightCyan"
|| สกฏ || sakaṭa || เกวียน
|- style="background: LightCyan"
|| มคฺค || magga || เส้นทาง ([[:wikt:มรรค|<u>มรรค</u>]] ในภาษาสันกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| สมณ || samaṇa || พระสงฆ์ ([[:wikt:สมณะ|<u>สมณะ</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| มิค || miga || กวาง ([[:wikt:มฤค|<u>มฤค</u>]] ในภาษาสันสกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| กกจ || kakaca || เลื่อย
|- style="background: LightCyan"
|| ปญฺฑิต || paṇḍita || [[:wikt:บัณฑิต|<u>บัณฑิต</u>]], ผู้ฉลาด
|- style="background: LightCyan"
|| หตฺถ || hattha || [[:wikt:หัตถ์|<u>หัตถ์</u>]], มือ
|- style="background: LightCyan"
|| ทีป || dīpa || ตะเกียง, ดวงไฟ (ประ<u>ทีป</u>), เกาะ
|- style="background: LightCyan"
|| สคฺค || sagga || [[:wikt:สวรรค์|<u>สวรรค์</u>]] (ภาษาสันกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| สร || sara || [[:wikt:ศร|<u>ศร</u>]] (ภาษาสันกฤต)
|- style="background: LightCyan"
|| ขคฺค || khagga || ดาบ (พระ[[:wikt:ขรรค์|<u>ขรรค์</u>]])
|}
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>เครื่องมือในการกระทำ</u> มีหลักการดังนี้
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''เครื่องมือในการกระทำ''' ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ตติยา''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Instrumental หมายถึง นามในประโยคที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการกระทำ เช่น<br/>''ฉันเขียนจดหมาย<u>ด้วยปากกา</u>'' - ''ปากกา'' ทำหน้าที่เป็น เครื่องมือในการกระทำ โดยมีคำว่า ''ด้วย'' เป็นตัวบ่ง<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่เครื่องมือในการกระทำ ออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''ด้วย...'', ''สู่...'', ''โดย...'', ''กับ...'', ''อัน...'' หรือ ''ตาม...''
|}
 
 
: 1. ถ้าคำนามเป็น<u>เอกพจน์</u> ให้<u>เติม -ena</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -เอน /เอนะ/ ท้ายคำ)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
บรรทัดที่ 68:
:: จากการผันข้างต้น ได้ความหมายว่า ด้วยคน, โดยคน, ด้วยลุง, โดยลุง, กับลุง, ด้วยชาวนา, โดยชาวนา, กับชาวนา, อันชาวนา, ฯลฯ
 
: 2. ถ้าคำนามเป็น<u>พหูพจน์</u> ให้<u>เติม -ehi</u> ที่ท้ายต้นเค้าคำนาม (เติม -เอหิ ท้ายคำ)
:: <u>หมายเหตุ</u> ในภาษาบาลีโบราณ จะใช้ -ebhi แทน -ehi
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
บรรทัดที่ 85:
 
== รูปแบบประโยค ==
ประโยคในภาษาบาลีเมื่อมี<u>เครื่องมือ</u>จะเรียงเป็น '''ประธาน + เครื่องมือ + กรรมตรง + กริยา''' (S Inst. O V) เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border:1px solid #FF8C00;" align = "center"