ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9:
! colspan="3" scope="col" style="background: SteelBlue; color: white" | คำนาม (เพศชาย + ลงท้ายด้วย -a /อะ/)
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|ธมฺม}} || dhamma || [[:wikt:บาตร|<u>ธรรม</u>]] (ซึ่งแปลตรงตัวว่า ''ความจริง'')
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|คาม}} || gāma || หมู่บ้าน (<u>คาม</u>)
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|กุกฺกุร}}, {{wt|สุนข}}, {{wt|โสณ}} || kukkura, sunakha, soṇa || [[:wikt:บาตร|<u>สุนัข</u>]]
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|อาวาฏ}} || āvāṭa || เมล็ด, หน่อ ([[:wikt:บาตร|<u>อวตาร</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|สิคาล}} || sigāla || หมาไน
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|ภตฺต}} || bhatta || ข้าว (<u>ภัตต</u>าหาร = ภัตต + อาหาร)
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|สุริย}} || suriya || ดวงอาทิตย์ ([[:wikt:บาตร|<u>สุริยะ</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|วิหาร}} || vihāra || [[:wikt:บาตร|<u>วิหาร</u>]], โบสถ์
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|ปพฺพต}} || pabbata || ภูเขา ([[:wikt:บาตร|<u>บรรพต</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|รุกฺข}} || rukkha || ต้นไม้ (<u>รุกข</u>เทวดา)
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|โอทน}} || odana || ข้าวสุก
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|จนฺท}} || canda || พระ<u>จันทร์</u>
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|ปตฺต}} || patta || ถ้วย ([[:wikt:บาตร|<u>บาตร</u>]])
|- style="background: LightCyan"
|| {{wt|ยาจก}} || yācaka || ขอทาน ([[:wikt:ยาจก|<u>ยาจก</u>]])
|-
! colspan="3" scope="col" style="background: Green; color: white" | คำกริยา (ผันตามกาลปัจจุบัน + ประธานบุรุษที่สาม + เอกพจน์)<br/>ตรงกับ he/she/it + V.-s/es หรือ is + V.-ing ในภาษาอังกฤษ
บรรทัดที่ 45:
|| {{wt|วิชฺฌติ}} || vijjhati || ยิง
|- style="background: PaleGreen"
|| {{wt|วนฺทติ}} || vandati || ไหว้ ([[:wikt:วันทา|<u>วันทา</u>]])
|- style="background: PaleGreen"
|| {{wt|อาหรติ}} || āharati || นำมา,​ พามา
บรรทัดที่ 51:
|| {{wt|ยาจติ}} || yācati || ขอ (ยาจก - ผู้ขอ)
|- style="background: PaleGreen"
|| {{wt|ปหรติ}} || paharati || ทุบตี, ทำร้าย ([[:wikt:ประหาร|<u>ประหาร</u>]])
|- style="background: PaleGreen"
|| {{wt|อารุหติ}} || āruhati || ขึ้น, เดินหรือปีนขึ้นไป
บรรทัดที่ 61:
 
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็น<u>กรรมตรง</u>ของประโยค มีหลักการดังนี้
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| '''กรรมตรง''' ในภาษาบาลีเรียกว่า '''ทุติยา''' ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า Accusative หมายถึง นามในประโยคที่ทำหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำ (โดยตรง) เช่น<br/>''ฉันกิน<u>ข้าว</u>'' - ''ข้าว'' ทำหน้าที่เป็น กรรมตรง<br/>''แม่ให้<u>ขนม</u>แก่<u>น้อง</u>'' - ''ขนม'' ทำหน้าที่เป็น กรรมตรง (ส่วน ''น้อง'' ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่งจะมีในหัวข้อต่อไป)<br/>ในภาษาบาลี เมื่อแปลนามที่ทำหน้าที่กรรมตรงออกมาเป็นภาษาไทย จะให้ความหมายว่า ''ซึ่ง...'' หรือ ''สู่...''
|}
 
บรรทัดที่ 95:
 
 
นอกจากการผันรูปแบบนี้จะทำให้คำนามทำหน้าที่เป็นกรรมตรงแล้ว ยังสามารถทำหน้าที่เป็น<u>จุดหมายปลายทางของการเดินทางหรือการเคลื่อนที่</u>ได้อีกด้วย เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
บรรทัดที่ 109:
|+ '''เอกพจน์'''
|- align = "center"
| Putto <u>naraṃ</u> passati. (ปุตฺโต นรํ ปสฺสติ) || = || บุตรเห็นผู้ชาย
|- align = "center"
| Brāhmaṇo <u>mātulaṃ</u> rakkhati. (พฺราหฺมโณ มาตุลํ รกฺขติ) || = || พราหมณ์ปกป้องลุง
|- align = "center"
| Vāṇijo <u>kassakaṃ</u> paharati. (วาณิโช กสฺสกํ ปหรติ) || = || พ่อค้าทุบตีชาวนา
|}
 
บรรทัดที่ 120:
|+ '''พหูพจน์'''
|- align = "center"
| Puttā <u>nare</u> passanti. (ปุตฺตา นเร ปสฺสนฺติ) || = || พวกบุตรเห็นพวกผู้ชาย
|- align = "center"
| Brāhmaṇā <u>mātule</u> rakkhanti. (พฺราหฺมณา มาตุเล รกฺขนฺติ) || = || พวกพราหมณ์ปกป้องพวกลุง
|- align = "center"
| Vāṇijā <u>kassake</u> paharanti. (วาณิชา กสฺสเก ปหรนฺติ) || = || พวกพ่อค้าทุบตีพวกชาวนา
|}