ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น/บทที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 57:
== การผันคำนามเพศชายที่ลงท้าย -a (อะ การันต์) ==
การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a (อะ การันต์) ให้ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค มีหลักการผันดังนี้
: 1. ถ้าต้องการให้เป็น<u>เอกพจน์</u> ให้<u>เติม -o</u> ลงไปที่ท้ายของต้นเค้าคำนาม (เปลี่ยนสระอะ เป็นสระโอ)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
บรรทัดที่ 70:
 
 
: 2. ถ้าต้องการให้เป็น<u>พหูพจน์</u> ให้<u>เติม -ā</u> ลงไปที่ท้ายของต้นเค้าคำนาม (เปลี่ยนอะ เป็นอา)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
บรรทัดที่ 84:
 
== การผันคำกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษที่ 3 ==
กริยาดังที่แสดงในรายการข้างบนนั้นเป็นการผสมกันระหว่างต้นเค้าคำกริยา bhāsa (ภาส), paca (ปจ), kasa (กส) กับท้ายเสียง <u>-ti</u> (-ติ) ซึ่งบอกกาลปัจจุบันของประธานบุรุษที่สามที่เป็นเอกพจน์
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF4500;" align = "center"
บรรทัดที่ 97:
 
 
ถ้าต้องการเปลี่ยนกริยาให้เป็นประธานบุรุษที่สาม <u>พหูพจน์</u> ให้เปลี่ยนท้ายเสียง<u>จาก -ti</u> ไป<u>เป็น -nti</u> แทน (จาก -ติ เป็น -นฺติ)
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF4500;" align = "center"