ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้าที่ของคำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชั่ว
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
== คำในภาษาไทย ==
นี่แน่ะ
ในภาษาไทย '''คำ''' มี 7 ชนิด ได้แก่:
 
===คำนาม===
เส้น 7 ⟶ 8:
'''คำนามทั่วไป (สามานยนาม)''' คือ คำนามที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ กระเป๋า นักเรียน ครู หนังสือ ชิงช้า นักกีฬา สุขภาพ เป็ด นก หมู ช้าง ม้า วัว ควาย พัดลม ทหาร วัด
 
''' คำนามชี้เฉพาะ (วิสามานยนาม)''' คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือเป็นคำเรียกบุคคล สัตว์ สิ่งของ ตลอดจนสถานที่ต่างๆ เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนใด สิ่งใด หรือที่ไหน เช่น ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น
ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น
 
'''คำนามบอกลักษณะ (ลักษณนาม)''' คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่นๆ เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนาม มักจะอยู่หลังคำบอกจำนวน และแยกได้เป็นหลายชนิด คือ บอกชนิด เช่น พระ=รูป บอกอาการ เช่น บุหรี่=มวน บอกรูปร่าง เช่น รถ=คัน บอกหมวดหมู่ เช่น ฟืน=กอง บอกจำนวน เช่น ผ้า=เมตร เเละ ซ้ำคำ เช่น วัด=วัด
บรรทัดที่ 20:
=== คำสรรพนาม ===
 
'''คำสรรพนาม''' คือ คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามนั้นซ้ำๆ แบ่งเป็น6 7 ชนิด คือ
 
'''สรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึง(บุรุษสรรพนาม)''' ได้แก่
บรรทัดที่ 27:
* สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ
 
'''สรรพนามชี้เฉพาะ(นิยมสรรพนาม)''' สรรพนามชนิดนี้ใช้แทนนามที่อยู่ใกล้หรือไกลผู้พูด ได้แก่ นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น เช่น นี่เป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปีนี้
นั่นรถจักรายานยนต์ของเธอ
 
'''สรรพนามใช้ถาม(ปฤจฉาสรรพนาม)''' คือ สรรพนามใช้แทนนามในประโยคคำถาม(ต้องการคำตอบ)ได้แก่ ใคร อะไร อย่างไร ผู้ใด สิ่งใด ที่ไหน เช่น
เส้น 37 ⟶ 36:
'''สรรพนามเชื่อมประโยค(ประพันธสรรพนาม)''' คือ สรรพนามที่ทำหน้าที่แทนนามข้างหน้าและเชื่อมประโยคให้มีความเกี่ยวพันกัน ได้แก่คำว่า ที่ ซึ่ง อัน เช่น
'''สรรพนามใช้เน้นนามที่อยู่ข้างหน้า''' คือ สรรพนามที่มักเรียงไว้หลังคำนามเพื่อเน้นนามที่อยู่ข้างหน้าและยังช่วยแสดงความรู้สึกของผู้พูดด้วย อาจเป็นความ
 
=== คำกริยา ===
เส้น 84 ⟶ 85:
* ฉันซ่อนเงินไว้ใต้หมอน (สถานที่)
* ครูต้องเสียสละเพื่อศิษย์ (เหตุผล)
* ฟันของน้องผุหลายซี่ (แสดงความเป็นเจ้าของ)
 
# "กับ" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อาการกำกับกัน อาการเทียบกัน และแสดงระดับ เช่น "ลุงไปกับป้า" (ร่วม) "ฉันเห็นกับตา" (กระชับ)