ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบลนเดอร์ ทรีดี: จากมือใหม่สู่มือโปร/understand 3d view"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gumara (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gumara (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 4:
3d view เป็น Window ชนิดหนึ่งใน Blender จาก Window ที่มีอยู่หลายๆตัวครับ หน้าที่ของ 3d view นั้น ใช้สำหรับเอาไว้ แสดงผลและให้เราจัดการกับโมเดล 3มิติที่เราสร้างขึ้นครับ ซึ่งในบทนี้ผมจะขอแบ่งออกเป็น 2ส่วนคือ ส่วนของ Menu bar และ Working area ครับ
 
==Menu bar==
[[ภาพ:Blender.3dview_menubar.png|left|thumb|250px|เมนูบาร์ของ 3d View]]
ใน 3d view นั้น จะประกอบไปด้วย พื้นที่ทำงานแบบ 3มิติ และแถบเมนูของ 3d view ครับ ในแถบเมนูของ 3d view นั้นจะมีคำสั่งต่างๆเรียงอยู่ครับ ตั้งแต่ View, Select, Object ซึ่งในเมนูเหล่านั้น จะประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆที่อยู่ภายใน แต่ในวันนี้ ผมจะพาไปรู้จักกับ เมนูที่เหลือ ซึ่งอยู่ในลักษณะของ ไอคอนเมนูกันก่อนครับ
 
===Mode===
[[ภาพ:Blender.3dview_menu_objectmode.png|right|เมนูบาร์ของ 3d View]]Mode เป็นเมนู สำหรับเลือกโหมดต่างๆที่จะใช้ในการจัดการกับวัตถุ โดยก่อนที่คุณจะเลือกใช้โหมดใดๆนั้น คุณจะต้องเลือกวัตถุก่อน โหมดที่คุณเลือกนั้น จะใช้ได้กับวัตถุที่ถูกเลือก เพียงวัตถุเดียวเท่านั้น
 
บรรทัดที่ 32:
*Limit selection to visible สามารถเลือกส่วนประกอบของออพเจค ที่ถูกบังอยู่ได้หรือไม่
 
===Viewport Shading===
[[ภาพ:Blender.3dview_menubar_drawing_type.png|thumb|Viewport Shading]]
:Viewport Shading เป็นเมนูที่ใช้สำหรับ เลือกโหมดในการมองวัตถุ การเลือกโหมดต่างๆนั้น ไม่จำเป็นที่จะต้องเลือกวัตถุก่อน เพราะมุมมองของวัตถุทั้งหมดจะถูกเปลี่ยนไปตามโหมดที่เลือก
บรรทัดที่ 43:
*Bounding Box มุมมองที่แสดง มุมมองของวัตถุออกมาในรูปของกล่องสี่เหลี่ยม โดยจะคำนวนจากค่าของ ความกว้าง ความยาว ความสูง ที่มากสุดของวัตถุ
 
===Rotation/Scaling Pivot===
[[ภาพ:Blender.3dview_rotationscaling_pivot.png|thumb|Rotation/Scaling Pivot]]
Rotation/Scaling Pivot เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้สำหรับ เลือกว่า ในขณะที่เราจัดการกับวัตถุ เช่น หมุน หรือ ย่อ/ขยายนั้น จะให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะใด โดยในการใช้งานจะต้องใช้คู่กับไอคอนที่ติดกัน ซึ่งมีชื่อว่า Move object centers only หน้าที่ของมันคือ บังคับให้การกระทำกับวัตถุ ด้วยคำสั่งต่างๆ จะมีผลเพียงแต่การย้ายจุดศูนย์กลางของวัตถุเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด หรือรูปร่างของวัตถุ
บรรทัดที่ 56:
อย่าลืมนะครับ ในการใช้คำสั่ง Rotation/Scaling Pivot นั้น จะสัมพันธ์กับ ไอคอนที่ชื่อ Move object centers only ด้วย ฉะนั้นขอให้ทดลองใช้งานคำสั่งแต่ละคำสั่ง โดยทดลองแบบเลือก และไม่เลือก Move object centers only ด้วยนะครับ
 
===Transform Manipulator===
[[ภาพ:Blender.3dview_icon_manipulator.png|thumb|Transform Manipulator]]
Transform Manipulator เป็นตัวที่ใช้กำหนดการทำงานของ [[Blender3d/Blender Tutorial/3d Transform maipulator|3d Transform maipulator]] ว่าจะให้ทำงานหรือไม่ ทำอะไร
บรรทัดที่ 72:
*View
 
===Toggles Layer visibility===
[[ภาพ:Blender.3dview_layer_visibility.png|thumb|Toggles Layer visibility]]
เลเยอร์ต่างๆที่มีให้เลือกใช้งาน เช่นเดียวกับการใช้งานเลเยอร์ในโปรแกรมตกแต่งภาพต่างๆ เช่น Photoshop หรือ Gimp โดยจะมีเลเยอร์ให้เลือกใช้ทั้งหมด 20เลเยอร์ พร้อมไอคอนที่ใช้สำหรับล๊อกมุมมองของเลเยอร์
 
===Render this window===
[[ภาพ:Blender.3dview_icon_render.png|left|Toggles Layer visibility]]Render this window เป็นไอคอนที่ใช้สั่งเรนเดอร์หน้าต่างที่ต้องการ ซึ่งจะได้มุมมองเดียวกับที่มองอยู่ไม่ได้อ้างอิงจากมุมกล้องที่ตั้ง การเรนเดอร์ด้วยคำสั่งนี้ จะแตกต่างจากการเรนเดอร์ปกติ เพราะการเรนเดอร์ด้วยไอคอนนี้จะให้ผลลัพภ์ที่สัมพันธ์กับมุมมองที่เลือกจาก Mode ของมุมมอง ถ้านึกภาพไม่ออก ผมลัพภ์ที่ได้จากการเรนเดอร์จะเหมือนกับการที่เราสั่ง Snap screen แต่ไม่มีเส้นกริด, เส้นแกน, กล้องและไฟเข้ามาด้วย
 
==Working area==
[[ภาพ:Blender.3d_view_workspace.png|thumb|350px|พื้นที่ทำงานใน 3dView]]
Working area ก็คือพื้นที่ ที่แสดงผล และให้เราทำงานกับโมเดลที่เราสร้าง ผ่านพื้นที่นั้น นั่นเองครับ จากภาพจะเห็นว่าในนั้นจะมีวัตถุมาให้ก่อน 3ชิ้น คือ กล่อง, ดวงไฟ และกล้อง ทั้ง3อย่างนั้นคือ วัตถุที่ได้จากคำสั่งต่างที่มีนั่นเอง เพียงแต่ Blender สร้างขึ้นมาให้เราก่อน เพื่อเป็นไกด์คร่าวๆ เท่านั้นเองครับ