ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/วรรณยุกต์และการผันอักษร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wiki test 0001 (คุย | ส่วนร่วม)
 
Wiki test 0001 (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง อ้างหมายเหตุ!
บรรทัดที่ 1:
{| class="toccolours" style="margin: 0px auto;"
#เปลี่ยนทาง [[ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/วรรณยุกต์และการผันอักษร!]]
! {{MediaWiki:Toc}}:
| [[#วรรณยุกต์ไทย|วรรณยุกต์ไทย]] - [[#อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ|อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ]] ([[#การผัน|การผัน]] ([[#อักษรกลาง|อักษรกลาง]], [[#อักษรสูง|อักษรสูง]] - [[#อักษรต่ำ|อักษรต่ำ]])) __NOTOC__
|}
 
== วรรณยุกต์ไทย ==
'''วรรณยุกต์''' หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี ๔ รูป คือ
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #DDA0DD;" align = "center"
|- align = "center"
! width="90" | เอก
! width="90" | โท
! width="90" | ตรี
! width="90" | จัตวา
|- align = "center"
| ่ || ้ || ๊ || ๋
|}
 
ในภาษาไทยคำทุกคำเมื่อใส่วรรณยุกต์เข้าไปแล้ว จะทำให้อ่านออกเสียงต่างกัน และความหมายของคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="80" | คำ
! width="80" | ่<br/>(เอก)
! width="80" | ้<br/>(โท)
! width="80" | ๊<br/>(ตรี)
! width="80" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| ตี || ตี่ || ตี้ || ตี๊ || ตี๋
|- align = "center"
| ปา || ป่า || ป้า || ป๊า || ป๋า
|- align = "center"
| เกา || เก่า || เก้า || เก๊า || เก๋า
|- align = "center"
| อาน || อ่าน || อ้าน || อ๊าน || อ๋าน
|}
 
== อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ ==
อักษรไทยแบ่งตามการออกเสียงเป็น ๓ หมู่ หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้
* '''อักษรกลาง''' มี ๙ ตัว ได้แก่
:ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
* '''อักษรสูง''' มี ๑๑ ตัว ได้แก่
:ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
* '''อักษรต่ำ''' มี ๒๔ ตัว ได้แก่
: ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] '''อักษรต่ำคู่''' คืออักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ๗ เสียง ได้แก่
::ค, ฅ, ฆ (ข,ฃ) ช, ฌ (ฉ) ซ (ศ, ษ, ส) ฑ, ฒ, ท, ธ (ฐ, ถ) พ, ภ (ผ) ฟ (ฝ) และ ฮ (ห)
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] '''อักษรต่ำเดี่ยว''' คืออักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มีทั้งสิ้น ๑๐ ตัว ได้แก่
::ง, ญ, ณ, น, ม, ย, ร, ล, ว และ ฬ
=== การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ ===
==== อักษรกลาง ====
* '''อักษรกลาง''' พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์จัตวาเป็นเสียงจัตวา เช่น
 
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="90" | คำ
! width="90" | <br/>(สามัญ)
! width="90" | ่<br/>(เอก)
! width="90" | ้<br/>(โท)
! width="90" | ๊<br/>(ตรี)
! width="90" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ปู'''</span> || ป || ปู่ || ปู้ || ปู๊ || ปู๋
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''จา'''</span> || จา || จ่า || จ้า || จ๊า || จ๋า
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''อา'''</span> || อา || อ่า || อ้า || อ๊า || อ๋า
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ไก'''</span> || ก || ไก่ || ไก้ || ไก๊ || ไก๋
|}
 
 
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๔ เสียง คือ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เช่น
 
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="90" | คำ
! width="90" | <br/>(สามัญ)
! width="90" | ่<br/>(เอก)
! width="90" | ้<br/>(โท)
! width="90" | ๊<br/>(ตร)
! width="90" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''กัด'''</span> || - || กัด || กั้ด || กั๊ด || กั๋ด
|- align
| <span style="color: #800000;">'''จาก'''</span> || - || จาก || จ้าก || จ๊าก || จ๋าก
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''อาบ'''</span> || - || อาบ || อ้าบ || อ๊าบ || อ๋าบ
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''บีบ'''</span> || - || บีบ || บี้บ || บี๊บ || บี๋บ
|}
 
==== อักษรสูง ====
* '''อักษรสูง''' พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น
 
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="90" | คำ
! width="90" | <br/>(สามัญ)
! width="90" | ่<br/>(เอก)
! width="90" | ้<br/>(โท)
! width="90" | ๊<br/>(ตรี)
! width="90" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ไข'''</span> || - || ไข่ || ไข้ || - || ไข
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ขา'''</span> || - || ข่า || ข้า || - || ขา
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ผึง'''</span> || - || ผึ่ง || ผึ้ง || - || ผึง
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ฝาย'''</span> || - || ฝ่าย || ฝ้าย || - || ฝาย
|}
 
 
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๒ เสียง คือ เสียงเอก และเสียงโท เช่น
 
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="90" | คำ
! width="90" | <br/>(สามัญ)
! width="90" | ่<br/>(เอก)
! width="90" | ้<br/>(โท)
! width="90" | ๊<br/>(ตรี)
! width="90" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ขัด'''</span> || - || ขัด || ขั้ด || - || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ผิด'''</span> || - || ผิด || ผิ้ด || - || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''สาบ'''</span> || - || สาบ || ส้าบ || - || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ฝาก'''</span> || - || ฝาก || ฝ้าก || - || -
|}
 
==== อักษรต่ำ ====
* '''อักษรต่ำ''' พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น
 
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF00FF;" align = "center"
! width="90" | คำ
! width="90" | <br/>(สามัญ)
! width="90" | ่<br/>(เอก)
! width="90" | ้<br/>(โท)
! width="90" | ๊<br/>(ตรี)
! width="90" | ๋<br/>(จัตวา)
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ทา'''</span> || ทา || - || ท่า || ท้า || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''ลม'''</span> || ลม || - || ล่ม || ล้ม || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''รอง'''</span> || รอง || - || ร่อง || ร้อง || -
|- align = "center"
| <span style="color: #800000;">'''งาว'''</span> || งาว || - || ง่าว || ง้าว || -
|}
 
 
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น|วรรณยุกต์และการผันอักษร]]