ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีเรียงลำดับคำตามตัวอักษรในภาษาไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงรูปแบบ
บรรทัดที่ 1:
'''วิธีเรียงลำดับคำตามตัวอักษรในภาษาไทย''' คือ การจัดลำดับก่อนหลังของคำต่างๆ ในภาษาไทยอย่างเป็นระบบ เพื่อก่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาคำ การเรียงลำดับคำอย่างเป็นระบบนี้ถูกนำไปใช้ประโยชน์โดยทั่วไป เช่น การทำพจนานุกรม การทำดัชนีของหนังสือ การเรียงรายชื่อผู้ติดต่อในโทรศัพท์เคลื่อนที่ การเรียงข้อมูลตามตัวอักษรในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น โดยการเรียงลำดับคำจะมีกฎต่างๆ ที่นำมาใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบคำ<br />
 
== กฎลำดับอักขระ ==
'''กฎลำดับอักขระ''' คือ กฎในการจัดเรียงลำดับก่อนหลังของอักขระในภาษาไทย ซึ่งมีความจำเป็นที่ต้องทราบเพื่อใช้ในขั้นตอนการเปรียบเทียบอักขระของคำ
 
=== 1. กฎลำดับพยัญชนะ===
จะเรียงลำดับพยัญชนะดังนี้
<big><big>ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ</big></big>
 
ป ง ณ บ า ร ม ะ
'''ข้อสังเกต''' ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไม่ใช่พยัญชนะ แต่ถูกนำมาพิจารณาร่วมกับพยัญชนะ
 
=== 2. กฎลำดับสระ ===
จะเรียงลำดับรูปสระดังนี้
อะ อั อา อำ อิ อี อึ อื อุ อู เอ แอ โอ ใอ ไอ ( <big><big>ะ &nbsp; ั า &nbsp;ำ <big>&nbsp;ิ &nbsp;ี &nbsp;ึ &nbsp;ื &nbsp;ุ &nbsp;ู</big> เ แ โ ใ ไ</big></big> )
 
'''ข้อสังเกต''' การเรียงสระจะยึดตามรูปที่เขียนไม่ใช่เสียง สระผสมจะไม่นำมาจัดเรียงโดยตรง (เช่น เ-&nbsp;ีย, เ-&nbsp;ือ, เ-าะ, แ-ะ) แต่จะถูกแยกรูปพิจารณาเป็นอักขระเดี่ยว
 
=== 3. กฎลำดับวรรณยุกต์ ===
จะเรียงลำดับดังนี้
ไม้ไต่คู้, ไม้เอก, ไม้โท, ไม้ตรี, ไม้จัตวา, ทัณฑฆาต ('''<big><big><big> &nbsp;็ &nbsp;่ &nbsp;้ &nbsp;๊ &nbsp;๋ &nbsp;์</big></big></big>''')
เส้น 21 ⟶ 24:
== วิธีพิจารณาลำดับของคำ ==
ในแต่ละคำให้พิจารณาพยัญชนะต้นก่อนสระและวรรณยุกต์เสมอ แม้ว่าจะมีสระเขียนไว้ด้านหน้า ด้านบน หรือด้านล่างของพยัญชนะต้น ก็ต้องพิจารณาดั่งสระนั้นถูกเขียนไว้หลังพยัญชนะต้นเสมอ จากนั้นจับคู่คำแล้วแยกเปรียบเทียบอักขระทีละคู่ไปตามลำดับในคำ จนกว่าจะพบตำแหน่งที่แตกต่าง แล้วจึงใช้กฎลำดับอักขระที่กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้ในการเรียง
จค
* (1.) หากคำที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วย'''พยัญชนะต่างกัน''' ให้ใช้กฎลำดับพยัญชนะได้ทันที เช่น
'''กลอน''' จะมาก่อน '''คลอน''' เพราะต่างกันที่อักขระแรก ก มาก่อน ค
 
'''ศาลา''' จะมาก่อน '''สาระ''' เพราะต่างกันที่อักขระแรก ศ มาก่อน ส
 
* (2.) หากคำที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วย'''พยัญชนะเดียวกัน''' ให้พิจารณาอักขระถัดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบอักขระที่ไม่เหมือนกัน เช่น
'''จักรพรรณ'''(จ- &nbsp;ั-ก-ร-พ-ร-ร-ณ) จะมาก่อน '''จักรพรรดิ'''(จ- &nbsp;ั-ก-ร-พ-ร-ร-ด- &nbsp;ิ) เพราะต่างกันที่อักขระคู่ที่ 8 โดย ณ มาก่อน ด
 
* (3.) หากมีคำที่เปรียบเทียบ '''ขึ้นต้นด้วยสระหน้า''' (เ แ โ ใ ไ ) ไม่ว่าจะเป็นสระเดียวกันหรือไม่ก็ตาม จะต้องข้ามไปพิจารณาพยัญชนะต้นก่อนเสมอ และให้พิจารณาดั่งสระ
หน้านั้นถูกเขียนอยู่หลังพยัญชนะต้นหนึ่งตำแหน่ง เช่น
 
'''แกลบ'''(ก-แ-ล-บ) จะมาก่อน '''ครอง'''(ค-ร-อ-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ ค
 
'''ไกล'''(ก-ไ-ล) จะมาก่อน '''เพลง'''(พ-เ-ล-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ พ
'''เกวียน'''(ก-เ-ว- &nbsp;ี-ย-น) จะมาก่อน '''เกิน'''(ก-เ- &nbsp;ิ-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ว มาก่อน สระอิ
 
'''เกวียน'''(ก-เ-ว- &nbsp;ี-ย-น) จะมาก่อน '''ไกล'''(ก-ไ-ล) เพราะอักขระคู่ที่ 2 ต่างกัน คือ เ มาก่อน ไ
 
'''เกม'''(ก-เ-ม) จะมาก่อน '''แกง'''(ก-แ-ง) เพราะพยัญชนะต้นเหมือนกันคือ ก จึงต้องเปรียบเทียบคู่ เ กับ แ
 
'''เกเร'''(ก-เ-ร-เ) จะมาก่อน '''เกลอ'''(ก-เ-ล-อ) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ร มาก่อน ล
 
'''สีแดง'''(ส- &nbsp;ี-ด-แ-ง) จะมาก่อน '''แสดง'''(ส-แ-ด-ง) มีพยัญชนะต้นเป็น ส เหมือนกัน แต่ สระอี มาก่อน แ
 
* (4.) '''ไม่พิจารณาวรรณยุกต์และเครื่องหมายในตอนแรก''' ยกเว้นกรณีคำที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะที่วรรณยุกต์หรือเครื่องหมาย ก็ให้ใช้กฎลำดับวรรณยุกต์ เช่น
 
'''เก็ง, เก่ง, เก้ง, เก๋ง''' (ก-เ-ง) โดยทั้ง 4 คำนี้ต่างกันเฉพาะเครื่องหมายวรรณยุกต์โดยที่ตำแหน่งไม่ต่างกัน จึงใช้กฎลำดับวรรณยุกต์ได้ทันที
 
'''แป้ง'''(ป-แ-ง) จะมาก่อน '''แปล๋น'''(ป-แ-ล-น) เพราะ ง มาก่อน ล โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์
 
'''เก็บ'''(ก-เ-บ) จะมาก่อน '''เกม'''(ก-เ-ม) เพราะ บ มาก่อน ม โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้
 
'''เกร็ง'''(ก-เ-ร-ง) จะมาก่อน '''เกเร'''(ก-เ-ร-เ) เพราะอักขระคู่ที่ 4 คือ ง มาก่อน เ โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้
 
'''ไส้ไก่'''(ส-ไ-ก-ไ) จะมาก่อน '''ไสยาสน์'''(ส-ไ-ย-า-ส-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 คือ ก มาก่อน ย โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์
 
* (5.) หากคำที่เปรียบเทียบ'''ต่างกันเฉพาะตำแหน่งของวรรณยุกต์'''เท่านั้น ถึงแม้ตัววรรณยุกต์จะต่างกัน ให้ถือว่าพยัญชนะที่ไม่มีวรรณยุกต์กำกับมาก่อนตัวที่มีวรรณยุกต์กำกับเสมอ เช่น
 
'''แหง่'''(ห-แ-ง่) จะมาก่อน '''แห่ง'''(ห่-แ-ง) เพราะจุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคำว่า แหง่ ไม่มีวรรณยุกต์กำกับ
 
* (1.)# หากคำที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วย'''พยัญชนะต่างกัน''' ให้ใช้กฎลำดับพยัญชนะได้ทันที เช่น
'''แหง้'''(ห-แ-ง้) จะมาก่อน '''แห่ง'''(ห่-แ-ง) เพราะแม้วรรณยุกต์ต่างกัน แต่จุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคำว่า แหง้ ไม่มีวรรณยุกต์กำกับ (คำว่า แหง้ เป็นคำสมมติที่ไม่มีความหมาย ใช้เพื่อประกอบการอธิบายเท่านั้น)
#* '''กลอน''' จะมาก่อน '''คลอน''' เพราะต่างกันที่อักขระแรก ก มาก่อน ค
#* '''ศาลา''' จะมาก่อน '''สาระ''' เพราะต่างกันที่อักขระแรก ศ มาก่อน ส
* (2.)# หากคำที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วย'''พยัญชนะเดียวกัน''' ให้พิจารณาอักขระถัดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบอักขระที่ไม่เหมือนกัน เช่น
#* '''จักรพรรณ'''(จ- &nbsp;ั-ก-ร-พ-ร-ร-ณ) จะมาก่อน '''จักรพรรดิ'''(จ- &nbsp;ั-ก-ร-พ-ร-ร-ด- &nbsp;ิ) เพราะต่างกันที่อักขระคู่ที่ 8 โดย ณ มาก่อน ด
* (3.)# หากมีคำที่เปรียบเทียบ '''ขึ้นต้นด้วยสระหน้า''' (เ แ โ ใ ไ ) ไม่ว่าจะเป็นสระเดียวกันหรือไม่ก็ตาม จะต้องข้ามไปพิจารณาพยัญชนะต้นก่อนเสมอ และให้พิจารณาดั่งสระหน้านั้นถูกเขียนอยู่หลังพยัญชนะต้นหนึ่งตำแหน่ง เช่น
#* '''แกลบ'''(ก-แ-ล-บ) จะมาก่อน '''ครอง'''(ค-ร-อ-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ ค
#* '''ไกล'''(ก-ไ-ล) จะมาก่อน '''เพลง'''(พ-เ-ล-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ พ
#* '''เกวียน'''(ก-เ-ว- &nbsp;ี-ย-น) จะมาก่อน '''เกิน'''(ก-เ- &nbsp;ิ-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ว มาก่อน สระอิ
#* '''เกวียน'''(ก-เ-ว- &nbsp;ี-ย-น) จะมาก่อน '''ไกล'''(ก-ไ-ล) เพราะอักขระคู่ที่ 2 ต่างกัน คือ เ มาก่อน ไ
#* '''เกม'''(ก-เ-ม) จะมาก่อน '''แกง'''(ก-แ-ง) เพราะพยัญชนะต้นเหมือนกันคือ ก จึงต้องเปรียบเทียบคู่ เ กับ แ
#* '''เกเร'''(ก-เ-ร-เ) จะมาก่อน '''เกลอ'''(ก-เ-ล-อ) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ร มาก่อน ล
#* '''สีแดง'''(ส- &nbsp;ี-ด-แ-ง) จะมาก่อน '''แสดง'''(ส-แ-ด-ง) มีพยัญชนะต้นเป็น ส เหมือนกัน แต่ สระอี มาก่อน แ
* (4.)# '''ไม่พิจารณาวรรณยุกต์และเครื่องหมายในตอนแรก''' ยกเว้นกรณีคำที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะที่วรรณยุกต์หรือเครื่องหมาย ก็ให้ใช้กฎลำดับวรรณยุกต์ เช่น
#* '''เก็ง, เก่ง, เก้ง, เก๋ง''' (ก-เ-ง) โดยทั้ง 4 คำนี้ต่างกันเฉพาะเครื่องหมายวรรณยุกต์โดยที่ตำแหน่งไม่ต่างกัน จึงใช้กฎลำดับวรรณยุกต์ได้ทันที
#* '''แป้ง'''(ป-แ-ง) จะมาก่อน '''แปล๋น'''(ป-แ-ล-น) เพราะ ง มาก่อน ล โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์
#* '''เก็บ'''(ก-เ-บ) จะมาก่อน '''เกม'''(ก-เ-ม) เพราะ บ มาก่อน ม โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้
#* '''เกร็ง'''(ก-เ-ร-ง) จะมาก่อน '''เกเร'''(ก-เ-ร-เ) เพราะอักขระคู่ที่ 4 คือ ง มาก่อน เ โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้
#* '''ไส้ไก่'''(ส-ไ-ก-ไ) จะมาก่อน '''ไสยาสน์'''(ส-ไ-ย-า-ส-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 คือ ก มาก่อน ย โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์
* (5.)# หากคำที่เปรียบเทียบ'''ต่างกันเฉพาะตำแหน่งของวรรณยุกต์'''เท่านั้น ถึงแม้ตัววรรณยุกต์จะต่างกัน ให้ถือว่าพยัญชนะที่ไม่มีวรรณยุกต์กำกับมาก่อนตัวที่มีวรรณยุกต์กำกับเสมอ เช่น
#* '''แหง่'''(ห-แ-ง่) จะมาก่อน '''แห่ง'''(ห่-แ-ง) เพราะจุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคำว่า แหง่ ไม่มีวรรณยุกต์กำกับ
#* '''แหง้'''(ห-แ-ง้) จะมาก่อน '''แห่ง'''(ห่-แ-ง) เพราะแม้วรรณยุกต์ต่างกัน แต่จุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคำว่า แหง้ ไม่มีวรรณยุกต์กำกับ (คำว่า แหง้ เป็นคำสมมติที่ไม่มีความหมาย ใช้เพื่อประกอบการอธิบายเท่านั้น)
 
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]