ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญาหลังนวยุค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
'''กระบวนทรรศน์ที่ 5 กระบวนทรรศน์หลังนวยุคนิยม (Postmodern paradigm)'''
 
ปรัชญากระบวนทรรศน์หลังนวยุค (Post-Modern Philosophy) เป็นกระแสที่ไม่มีขอบเขตเริ่มต้นชัดเจน แต่เป็นการปรับท่าทีต่อการใช้ปรัชญาโดยชี้ว่าปัญหาใหญ่ของโลกเช่นสงครามโลกล้วนเกิดจากความยึดมั่นถือมั่น (attachment) ของผู้ถือปรัชญายุคก่อนหน้าทั้งสิ้น
การค้นหาความเป็นจริงตามแนวคิดทางอภิปรัชญาที่เกิดขึ้นตามแนวคิดกระบวนทรรศน์ที่ 5 หลังนวยุค เกิดจากการค้นความเป็นจริงด้วยแนวทางวิทยาศาสตร์ที่ค้านต่อความตายตัวของกฎฟิสิกส์ที่ควบคุมตรงไปตรงมา และกระบวนการทางสังคมที่ต่อต้านนวยุคภาพ รวมถึงวจนศูนย์นิยม นักอภิปรัชญาในกระบวนทรรศน์หลังนวยุคซึ่งส่วนหนึ่งเป็นนักอภิปรัชญาจากปลายนวยุคเริ่มมองว่าความเป็นจริงที่กล่าวอ้างนั้นเป็นเพียงความเชื่อถือทางภาษาเท่านั้น และไม่เชื่อว่ามนุษย์สามารถรู้ความจริงเชิงวัตถุวิสัยได้และความรู้ที่ได้ก็เป็นเพียงความเชื่อทางภาษาเท่านั้น กระแสหลังนวยุคแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือระยะข้อกังขา ระยะรื้อทิ้ง (deconstructionism) และระยะรื้อสร้างใหม่ (reconstructionism)
จุดสะดุดสำคัญ คือ '''สงครามโลกครั้งที่ 1''' ระหว่าง ค.ศ.1914-1918 ชนวนสำคัญคือนโยบายจักรวรรดินิยมที่แย่งชิงการมีอิทธิพลเหนือผลประโยชน์ในดินแดนต่างๆ จนมีกองกำลังเสียชีวิตรวม 10 ล้านคน บาดเจ็บ 20 ล้านคน สูญหาย 8 ล้านคน และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน จักรวรรดิเยอรมันต้องล่มสลายลง
จุดสะดุดที่เป็นฟางเส้นสุดท้ายบนหลังลาคือ '''สงครามโลกครั้งที่ 2''' ระหว่าง ค.ศ. 1939-1945 กองกำลังเสียชีวิตรวม 24 ล้านคน พลเรือนเสียชีวิต 49 ล้านคน และจบสงครามด้วยการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ ซึ่งเป็นความก้าวหน้าล่าสุดของวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น
มนุษยชาติจึงพากันตระหนักว่าโลกไม่อาจรองรับสงครามโลกครั้งที่ 3 ได้อย่างแน่นอน
 
การค้นหาความเป็นจริงตามแนวคิดทางอภิปรัชญาที่เกิดขึ้นตามแนวคิดกระบวนทรรศน์ที่ 5 หลังนวยุค เกิดจากการค้นความเป็นจริงด้วยแนวทางวิทยาศาสตร์ที่ค้านต่อความตายตัวของกฎฟิสิกส์ที่ควบคุมตรงไปตรงมา และกระบวนการทางสังคมที่ต่อต้านนวยุคภาพ รวมถึงวจนศูนย์นิยม ปรัชญามองว่าความรุนแรงของสงครามเกิดจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์เข้มข้นตามปรัชญาสมัยใหม่ (modern philosophy)
การค้นหาความเป็นจริงตามแนวคิดทางอภิปรัชญาที่เกิดขึ้นตามแนวคิดกระบวนทรรศน์ที่ 5 หลังนวยุค เกิดจากการค้นความเป็นจริงด้วยแนวทางวิทยาศาสตร์ที่ค้านต่อความตายตัวของกฎฟิสิกส์ที่ควบคุมตรงไปตรงมา และกระบวนการทางสังคมที่ต่อต้านนวยุคภาพ รวมถึงวจนศูนย์นิยม นักอภิปรัชญาในกระบวนทรรศน์หลังนวยุคซึ่งส่วนหนึ่งเป็นนักอภิปรัชญาจากปลายนวยุคเริ่มมองว่าความเป็นจริงที่กล่าวอ้างนั้นเป็นเพียงความเชื่อถือทางภาษาเท่านั้น และไม่เชื่อว่ามนุษย์สามารถรู้ความจริงเชิงวัตถุวิสัยได้และความรู้ที่ได้ก็เป็นเพียงความเชื่อทางภาษาเท่านั้น กระแสหลังนวยุคแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือระยะข้อกังขา ระยะรื้อทิ้ง (deconstructionism) และระยะรื้อสร้างใหม่ (reconstructionism)
 
กระแสข้อกังขา
 
* กระแสข้อกังขา
อภิปรัชญาของฮายเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg ค.ศ.1901-1976) หลักความไม่แน่นอนที่เขาตั้งขึ้นได้สะเทือนถึงหลักค้ำประกันความเป็นจริงของระบบเครือข่ายตามกระบวนทรรศน์นวยุค เพราะเป็นการค้นพบที่นอกเหนือไปกว่ากฎวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบกันอยู่ แต่ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนใดที่จะสรุปเป็นกฎหรือพยากรณ์ได้ผ่านกระบวนการวิทยาศาสตร์ หากแต่เป็นความจริงที่ค้นพบ หลักการความไม่แน่นอนนี้จึงทำให้ทฤษฎีแควนเทิม (Quantum theory) ซึ่งแสดงความตายตัวของอนุภาคซึ่งเป็นพื้นฐานของทุกสิ่ง กฎฟิสิกส์ที่ควบคุมตรงไปตรงมา และแสดงการพยากรณ์ที่ได้รับการยอมรับในยุคแรกของกระบวนทรรศน์นวยุค เป็นหลักค้ำประกันความจริงบนระบบเครือข่ายที่ใช้วิธีการวิทยาศาสตร์ในการพิสูจน์สิ่งต่างๆ เกิดการสั่นไหวอย่างรุนแรง เพราะความไม่แน่นอนทำให้ไม่อาจพยากรณ์ได้
 
อภิปรัชญาของแรมซีย์(Frank Ramsey ค.ศ.1903-1930) ได้แสดงว่าความน่าจะเป็นคือระดับวัดความเชื่อของผู้ใช้เหตุผล แม้ว่าความน่าจะเป็นจะมีค่าสูงเท่าใด และเชื่อว่าใกล้เคียงกับความจริงวัตถุวิสัยที่สุด แต่สำหรับผู้ใช้เหตุผลก็เป็นเพียงระดับความเชื่อถือต่อข้อมูลที่ได้ เพราะการใช้ข้อมูลของบุคคลเป็นเหตุผลทางจิตวิทยา ซึ่งไม่อาจใช้สูตรคำนวณได้ มนุษย์มีสิทธิที่จะทำหรือไม่ทำตามความน่าจะเป็นของข้อมูลที่คำนวณได้ ขึ้นกับระดับความเชื่อต่อข้อมูลในเรื่องนั้นๆ เป็นการใช้ความน่าเชื่อถือตามความรู้สึกของตน โดยไม่ต้องสนใจว่าคนอื่นจะมีความแน่ใจระดับใดในเรื่องเดียวกัน
'''อภิปรัชญาของฮายเซนเบิร์ก''' (Werner Heisenberg ค.ศ.1901-1976) หลักความไม่แน่นอนที่เขาตั้งขึ้นได้สะเทือนถึงหลักค้ำประกันความเป็นจริงของระบบเครือข่ายตามกระบวนทรรศน์นวยุค เพราะเป็นการค้นพบที่นอกเหนือไปกว่ากฎวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบกันอยู่ แต่ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนใดที่จะสรุปเป็นกฎหรือพยากรณ์ได้ผ่านกระบวนการวิทยาศาสตร์ หากแต่เป็นความจริงที่ค้นพบ หลักการความไม่แน่นอนนี้จึงทำให้ทฤษฎีแควนเทิม (Quantum theory) ซึ่งแสดงความตายตัวของอนุภาคซึ่งเป็นพื้นฐานของทุกสิ่ง กฎฟิสิกส์ที่ควบคุมตรงไปตรงมา และแสดงการพยากรณ์ที่ได้รับการยอมรับในยุคแรกของกระบวนทรรศน์นวยุค เป็นหลักค้ำประกันความจริงบนระบบเครือข่ายที่ใช้วิธีการวิทยาศาสตร์ในการพิสูจน์สิ่งต่างๆ เกิดการสั่นไหวอย่างรุนแรง เพราะความไม่แน่นอนทำให้ไม่อาจพยากรณ์ได้
อภิปรัชญาของเวสเทอร์มาร์ก(Edvard Westermarck ค.ศ.1862-1939) ได้ชี้ว่าหลักจริยธรรมเป็นสัมพัทธ์ตามวัฒนธรรมของสังคมที่ตนจำกัดอยู่ กฎจริยศาสตร์เป็นอัตวิสัยเกิดจากอาเวค (emotion) ไม่ใช่จากเหตุผล หน้าที่ของจริยศาสตร์จึงไม่ใช่การวางกฎเกณฑ์สำหรับความประพฤติ แต่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลของความสำนึกทางศีลธรรม มนุษย์คิดว่ากฎจริยธรรมเป็นหลักตายตัวก็เพราะขีปนา (projection) อาเวคศีลธรรมเป็นวัตถุวิสัย ก็เพราะได้รับการหนุนโดยศาสนา ประเพณี และอุดมคติ วัตถุวิสัยนิยมทางจริยศาสตร์ก็คือการยืนยันว่าหลักเกณฑ์การตัดสินดีชั่วที่สมมติว่ามีอยู่จริงนอกความคิดเห็นของบุคคลแต่ละคน บุคคลแต่ละคนอาจจะเข้าใจผิดหรือไม่ก็ตัดสินไปโดยพละการอย่างผิดๆ ได้โดยไม่กระทบกระเทือนต่อความเที่ยงตรงของหลักเกณฑ์ที่สมมติไว้ แต่อย่างไรก็ตามหลักเกณฑ์ที่สมมติกันขึ้นมานี้ก็มีต่างๆ กันไปตามแต่พื้นฐานของระบบสังคมนั้นๆ ทำให้มีหลักเกณฑ์หลากหลาย ซึ่งหากมีหลักเกณฑ์ที่หลากหลายเสียแล้วจะถูกไปหมดทุกระบบย่อมเป็นไปไม่ได้ ต่างระบบต่างก็มีเหตุผลและข้อบกพร่องของตน ดังนั้นจริยศาสตร์จึงเป็นเรื่องอัตวิสัย
'''อภิปรัชญาของแรมซีย์''' (Frank Ramsey ค.ศ.1903-1930) ได้แสดงว่าความน่าจะเป็นคือระดับวัดความเชื่อของผู้ใช้เหตุผล แม้ว่าความน่าจะเป็นจะมีค่าสูงเท่าใด และเชื่อว่าใกล้เคียงกับความจริงวัตถุวิสัยที่สุด แต่สำหรับผู้ใช้เหตุผลก็เป็นเพียงระดับความเชื่อถือต่อข้อมูลที่ได้ เพราะการใช้ข้อมูลของบุคคลเป็นเหตุผลทางจิตวิทยา ซึ่งไม่อาจใช้สูตรคำนวณได้ มนุษย์มีสิทธิที่จะทำหรือไม่ทำตามความน่าจะเป็นของข้อมูลที่คำนวณได้ ขึ้นกับระดับความเชื่อต่อข้อมูลในเรื่องนั้นๆ เป็นการใช้ความน่าเชื่อถือตามความรู้สึกของตน โดยไม่ต้องสนใจว่าคนอื่นจะมีความแน่ใจระดับใดในเรื่องเดียวกัน
อภิปรัชญาของวิทเกินชทายน์ (Ludwig Wittgenstein ค.ศ.1889-1951 ) ภาษาพัฒนาไปตามความสำนึก ความสำนึกทั้งหลายของมนุษย์มีหลากหลายแต่แสดงออกผ่านทางภาษา ภาษาที่ใช้กันก็คือภาษาสามัญ ซึ่งเป็นภาษาของสังคมและเพื่อสังคม มนุษย์ไม่สามารถใช้ภาษาส่วนตัวของใครของมันในการสื่อสาร เพราะจะไม่มีทางเข้าใจร่วมได้ การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมต้องการสื่อสารถึงกัน จึงพัฒนาภาษามาเป็นเครื่องมือ ภาษาสามัญเป็นภาษาสังคมและมีความหมายลึกซึ้งอยู่ในตัว ซึ่งภาษาอุดมคติทำได้ในขอบเขตจำกัดมาก ดังนั้นควรหาความหมายจากภาษาสามัญด้วยทฤษฎีภาพ (picture theory) เพราะว่าความหมายของภาษาอาจเป็นไปอย่างแท้จริง หรือหลอกลวงเราไว้แต่แรกก็ได้ เราจึงต้องใช้ประโยคที่ม่งแสดงความสัมพัทธ์กับโลกแห่งความเป็นจริง
'''อภิปรัชญาของเวสเทอร์มาร์ก''' (Edvard Westermarck ค.ศ.1862-1939) ได้ชี้ว่าหลักจริยธรรมเป็นสัมพัทธ์ตามวัฒนธรรมของสังคมที่ตนจำกัดอยู่ กฎจริยศาสตร์เป็นอัตวิสัยเกิดจากอาเวค (emotion) ไม่ใช่จากเหตุผล หน้าที่ของจริยศาสตร์จึงไม่ใช่การวางกฎเกณฑ์สำหรับความประพฤติ แต่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลของความสำนึกทางศีลธรรม มนุษย์คิดว่ากฎจริยธรรมเป็นหลักตายตัวก็เพราะขีปนา (projection) อาเวคศีลธรรมเป็นวัตถุวิสัย ก็เพราะได้รับการหนุนโดยศาสนา ประเพณี และอุดมคติ วัตถุวิสัยนิยมทางจริยศาสตร์ก็คือการยืนยันว่าหลักเกณฑ์การตัดสินดีชั่วที่สมมติว่ามีอยู่จริงนอกความคิดเห็นของบุคคลแต่ละคน บุคคลแต่ละคนอาจจะเข้าใจผิดหรือไม่ก็ตัดสินไปโดยพละการอย่างผิดๆ ได้โดยไม่กระทบกระเทือนต่อความเที่ยงตรงของหลักเกณฑ์ที่สมมติไว้ แต่อย่างไรก็ตามหลักเกณฑ์ที่สมมติกันขึ้นมานี้ก็มีต่างๆ กันไปตามแต่พื้นฐานของระบบสังคมนั้นๆ ทำให้มีหลักเกณฑ์หลากหลาย ซึ่งหากมีหลักเกณฑ์ที่หลากหลายเสียแล้วจะถูกไปหมดทุกระบบย่อมเป็นไปไม่ได้ ต่างระบบต่างก็มีเหตุผลและข้อบกพร่องของตน ดังนั้นจริยศาสตร์จึงเป็นเรื่องอัตวิสัย
'''อภิปรัชญาของวิทเกินชทายน์''' (Ludwig Wittgenstein ค.ศ.1889-1951 ) ภาษาพัฒนาไปตามความสำนึก ความสำนึกทั้งหลายของมนุษย์มีหลากหลายแต่แสดงออกผ่านทางภาษา ภาษาที่ใช้กันก็คือภาษาสามัญ ซึ่งเป็นภาษาของสังคมและเพื่อสังคม มนุษย์ไม่สามารถใช้ภาษาส่วนตัวของใครของมันในการสื่อสาร เพราะจะไม่มีทางเข้าใจร่วมได้ การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมต้องการสื่อสารถึงกัน จึงพัฒนาภาษามาเป็นเครื่องมือ ภาษาสามัญเป็นภาษาสังคมและมีความหมายลึกซึ้งอยู่ในตัว ซึ่งภาษาอุดมคติทำได้ในขอบเขตจำกัดมาก ดังนั้นควรหาความหมายจากภาษาสามัญด้วยทฤษฎีภาพ (picture theory) เพราะว่าความหมายของภาษาอาจเป็นไปอย่างแท้จริง หรือหลอกลวงเราไว้แต่แรกก็ได้ เราจึงต้องใช้ประโยคที่ม่งแสดงความสัมพัทธ์กับโลกแห่งความเป็นจริง
อภิปรัชญาของเฮเกล (Friedrich Hegel ค.ศ.1770-1831 ) มองว่าความรู้ทั้งหลายที่เราคิดว่าเป็นความจริงและความเป็นจริงล้วนแต่ตรงกับระบบเครือข่ายตรรกะ ดังนั้นจึงเป็นระบบเครือข่ายตรรกะนั่นเองที่ขีปนาออกไปภายนอกความคิด แม้แต่จิตของเราก็เป็นเพียงขีปนาการของจิตดวงใหญ่ดวงเดียวกันทั้งสิ้นที่ขีปนาตัวเองออกเพื่อมีการชนะอุปสรรค จะได้ก้าวหน้า ดังนั้นความเป็นจริงมีแต่จิตและชีปนาการของจิต ความจริงคือการสร้างสรรค์ของจิตเท่านั้น
 
 
* กระแสรื้อถอน
 
'''อภิปรัชญาของนีทเฌอ''' (Friedrich Nietzsche ค.ศ.1844-1900) แสดงอภิปรัชญาผ่านเรื่อง “พระเจ้าตายแล้ว” และชี้ว่าความเป็นจริงเป็นพลังที่แสวงหาอำนาจอย่างตาบอด ไม่อยู่นิ่งตายตัวและไม่เป็นระบบระเบียบ และอภิปรัชญาที่ว่าความจริงอันติมะ ซึ่งได้แก่เจตจำนงที่เป็นพลังตาบอด ไม่ใช่จิตที่รู้คิดด้วยปัญญาเหตุผล การดิ้นรนของเจตจำนงไม่จำเป็นต้องประสานกันเป็นระบบ เพราะแต่ละอย่างที่เกิดขึ้น ขึ้นกับว่าขณะนั้นพลังดิ้นรนกำลังดิ้นรนไปทางไหนตามยถากรรม ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับอดีตและไม่จำเป็นต้องมีแผนสู่อนาคต ความเป็นสากลเป็นเพียงสถิติบันทึก การเอาจริงเอาจังกับกฎสากลจึงเป็นการหลงใหล การสร้างกฎเกณฑ์ขึ้นธรรมชาติจึงเป็นการบิดเบือนและหลอกตนเองของมนุษย์ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องกำจัดทิ้งไปเพื่อให้มนุษย์ได้มีความคิดเสรีไร้พันธะ
'''อภิปรัชญาของซาร์ต''' (Jean Paul Sartre ค.ศ.1905-1980) เน้นว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตนตามแนวทางอัตถิภาวะนิยม (Existentialism) มีเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน และเสนอแนวทาง 3 กล้า ได้แก่
 
# กล้าเผชิญปัญหา
เส้น 22 ⟶ 28:
# กล้าลงมือทำด้วยความรับผิดชอบ
 
'''อภิปรัชญาของฟูโกลต์''' (Michel Foucault ค.ศ.1926-1984) มองว่าจิตขีปนาความเป็นจริงและความจริงให้กับสังคม ซึ่งก็คือความต้องการของผู้มีอำนาจในสังคมที่ขีปนาออกมา ปัญญาชนในแต่ละยุคเป็นผู้กำหนดความคิดของสังคมก็เป็นไปตามความต้องการของผู้มีอำนาจที่สนับสนุนปัญญาชนนั้นๆ อยู่
 
* กระแสรื้อสร้างใหม่
 
'''อภิปรัชญาของเกิทซ์''' (Clifford Geertz) นิยามวัฒนธรรมว่าเป็นชุดหนึ่งของสัญญะที่กำหนดกรอบชีวิต มนุษย์สากลไม่มีจริง สิ่งสากลทางวัฒนธรรมอันได้แก่ความเชื่อร่วมกันของมนุษย์ทุกคนก็ไม่มีจริง เพราะว่าค้นหาไม่พบ สิ่งที่พบก็คือความแตกต่าง มีศาสนาหลายรูปแบบที่ยึดถือความเชื่อแตกต่างกัน ความเชื่อถือและการปฏิบัติก็แตกต่างกัน ยังไม่พบรูปแบบร่วมของการปฏิบัติตนในสังคมจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน นั่นคือไม่พบหนทางที่จะเป็นสังคมสมบูรณ์แบบตามแนวคิดนวยุคนิยม มนุษย์คือที่รวมของความหลากหลาย คือพร้อมที่จะเรียนรู้ และเข้าใจวัฒนธรรมอื่นๆ โดยที่มนุษย์เองยังมีความสามารถในการปรับตัวตามวัฒนธรรมต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาและเห็นว่าดีได้โดยไม่มีขอบเขตจำกัดใดๆ เจตจำนงเลือกอย่างเสรีเป็นเครื่องมือธรรมชาติที่สำคัญ ร่วมกับความสามารถจำอย่างไม่มีขีดจำกัด ทำให้มนุษย์จำการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมได้ สามารถรวบรวมไว้ปฏิบัติและถ่ายทอดสืบต่อมาด้วยภาษาและการปฏิบัติเป็นตัวอย่าง กลายเป็นประเพณีและวัฒนธรรมประจำสังคมนั้นๆ
 
กระแสรื้อสร้างใหม่
อภิปรัชญาของเกิทซ์(Clifford Geertz) นิยามวัฒนธรรมว่าเป็นชุดหนึ่งของสัญญะที่กำหนดกรอบชีวิต มนุษย์สากลไม่มีจริง สิ่งสากลทางวัฒนธรรมอันได้แก่ความเชื่อร่วมกันของมนุษย์ทุกคนก็ไม่มีจริง เพราะว่าค้นหาไม่พบ สิ่งที่พบก็คือความแตกต่าง มีศาสนาหลายรูปแบบที่ยึดถือความเชื่อแตกต่างกัน ความเชื่อถือและการปฏิบัติก็แตกต่างกัน ยังไม่พบรูปแบบร่วมของการปฏิบัติตนในสังคมจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน นั่นคือไม่พบหนทางที่จะเป็นสังคมสมบูรณ์แบบตามแนวคิดนวยุคนิยม มนุษย์คือที่รวมของความหลากหลาย คือพร้อมที่จะเรียนรู้ และเข้าใจวัฒนธรรมอื่นๆ โดยที่มนุษย์เองยังมีความสามารถในการปรับตัวตามวัฒนธรรมต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาและเห็นว่าดีได้โดยไม่มีขอบเขตจำกัดใดๆ เจตจำนงเลือกอย่างเสรีเป็นเครื่องมือธรรมชาติที่สำคัญ ร่วมกับความสามารถจำอย่างไม่มีขีดจำกัด ทำให้มนุษย์จำการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมได้ สามารถรวบรวมไว้ปฏิบัติและถ่ายทอดสืบต่อมาด้วยภาษาและการปฏิบัติเป็นตัวอย่าง กลายเป็นประเพณีและวัฒนธรรมประจำสังคมนั้นๆ