ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญานวยุค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 46:
* ระดับอภิปรัชญา (Metaphysical Stage) แทนที่เทพเจ้าด้วยความเชื่อว่ามีสาระ สาเหตุ พลัง ฯลฯ อยู่เบื้องหลังธรรมชาติ ธรรมชาติ จึงมีฐานะแทนพระเจ้าไป การตีความธรรมชาติในระดับนี้เรียกว่า คำอธิบายอันตระ (immanent explication)
* ระดับปฏิฐาน (Positive Stage) ความรู้ที่แท้จริงอยู่ที่ข้อมูลเท่านั้นจึงยึดถือเป็นหลัก ความรู้ระดับนี้ทดสอบกันได้ด้วยประสาทสัมผัส ทุกคนต้องยอมรับ พัฒนาเป็นขั้น ๆ จากง่ายไปยาก
 
 
'''อภิปรัชญาของสเพนเซอร์''' (Herbert Spencer 1820-1903) นำเอาทฤษฎีวิวัฒนาการของชาล์ส ดาร์วิน ไปใช้กับความรู้ทุกแขนง นั่นคือ พยายามจะทำทฤษฎีวิวัฒนาการแบบสสารนิยมให้เป็นระบบปรัชญา เห็นว่าวิทยาศาสตร์มีพื้นฐานอยู่บนข้อมูลรู้ด้วยประสาทสัมผัส ไม่สามารถเป็นความรู้สมบูรณ์ได้ ต้องอาศัยปรัชญาช่วยโยงให้ ปรัชญาจึงต้องอยู่เหนือประสาทสัมผัส ความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงานทำให้เกิดพฤติกรรมวิวัฒนาการและสลายตัว (evolution and dissolution) ซึ่งเกิดขึ้นสลับกันตลอด