ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 17:
-  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ”    
 
1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา   
 
   1.3     สำนักสโตอิค  มีแนวความคิดพื้นฐานว่า ในจักรวาลประกอบด้วย “เหตุผล” ซึ่งเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน  มนุษย์ซึ่งถูกกำหนดควบคุมโดย “เหตุผล”     
   1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม  
 
   2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  
   1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม    
ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    
 
ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 
2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 
 
1)   กฎหมายนิรันดร์         
เส้น 30 ⟶ 31:
3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์        
 
4.)   กฎหมายของมนุษย์  
 
3.   ยุคฟื้นฟู และยุคปฏิรูป  (เป็นยุคที่เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ)
เป็นยุคที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาติแยกออกจากการครอบงำของศาสนาคริสต์  มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์  ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ          
 
4.   ยุคชาติรัฐนิยม   เป็นยุคที่กฎหมายธรรมชาติมีความเสื่อมลง เพราะ     
เส้น 39 ⟶ 40:
1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)    
 
2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย    
 
5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ    
เส้น 69 ⟶ 70:
จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ 
   1)   รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรืองของมนุษย์
    2)     สิ่งจำเป็นเชิงวิชาการพื้นฐานของความชอบด้วยเหตุผลเชิงปฏิบัติ     
 
   จุดอ่อน 
จุดอ่อน   
-   ความเป็นนามธรรมอย่างสูง   
 
-   ไม่สามารถพิสูจน์ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยวิธีการทาง
-   ความเป็นนามธรรมอย่างสูง      
 
-   ไม่สามารถพิสูจน์ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยวิธีการทาง   
 
-   ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกะ   
 
เส้น 114 ⟶ 119:
ดวอร์กิ้น  วิจารณ์แนวคิดเรื่อง”ระบบแห่งกฎเกณฑ์”  โดยเห็นว่า  การถือว่ากฎหมายเป็นเพียงเรื่องระบบแห่งกฎเกณฑ์ตามความคิดของฮาร์ทนั้น  เป็นข้อสรุปที่ไม่สมบูรณ์และคับแคบเกินไป  เพราะจริง ๆ แล้ว  “กฎเกณฑ์”  ไม่ใช่เนื้อหาสาระเดียวในกฎหมาย  การมองกฎหมายว่าเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เท่านั้นไม่เป็นสิ่งที่เพียงพอ  กฎเกณฑ์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายเท่านั้น  แท้จริงแล้วยังมีเนื้อหาสาระสำคัญอื่น ๆ ซึ่งประกอบอยู่ภายในกฎหมาย  ที่สำคัญคือเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องของ “หลักการ” ทางศีลธรรม  หรือความเป็นธรรม
ดวอร์กิ้นถือว่า “หลักการ” เป็นมาตรฐานภายในกฎหมายซึ่งต้องเคารพรักษา ซึ่ง  “หลักการ”  ต่างกับ  “กฎเกณฑ์”  ตรงที่กฎเกณฑ์มีลักษณะใช้ได้ทั่วไปมากกว่า  ขณะที่หลักการต้องเลือกปรับใช้ในบางคดี  
 
   ในจุดนี้  ดวอร์กิ้น  ได้ยกตัวอย่างที่เขาต้องการชี้ให้เห็นความแตกต่าง ระหว่าง “หลักการ” และ “กฎเกณฑ์"   เช่น  คดี Henningsen V. Bloomfield Motors   ซึ่ง มีประเด็นสำคัญว่า บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์สามารถจำกัดความรับผิดของตนในความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจา กความบกพร่องในการผลิตได้เพียงใด
ในเมื่อได้ทำสัญญาโดยตกลงว่าความรับผิดของบริษัทผู้ผลิตจำกัดเพียงการซ่อมแซมส่วนที่ บกพร่องให้ดีเท่านั้น  ต่อมาเมื่อได้เกิดความเสียหายขึ้น  ผู้ซื้อโต้แย้งว่า บริษัทไม่ควรได้รับการคุ้มครองโดยข้อจำกัดของสัญญาดังกล่าว  โดยควรต้องรับผิดชอบต่อค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ   เนื่องจากการชนกันของรถซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของรถยนต์  
 
ในเมื่อได้ทำสัญญาโดยตกลงว่าความรับผิดของบริษัทผู้ผลิตจำกัดเพียงการซ่อมแซมส่วนที่ บกพร่องให้ดีเท่านั้น  ต่อมาเมื่อได้เกิดความเสียหายขึ้น  ผู้ซื้อโต้แย้งว่า บริษัทไม่ควรได้รับการคุ้มครองโดยข้อจำกัดของสัญญาดังกล่าว  โดยควรต้องรับผิดชอบต่อค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ   เนื่องจากการชนกันของรถซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของรถยนต์  คดีนี้ ผู้ซื้อไม่สามารถอ้างกฎหมายหรือหลักนิติธรรมที่หนักแน่นใด ๆ ซึ่งห้ามบริษัทผู้ผลิตไม่ให้ทำข้อตกลงในลักษณะดังกล่าว  ศาลเห็นพ้องกับคำร้องขอของผู้ซื้อ  โดยให้เหตุผลว่า แม้หลักเรื่องเสรีภาพในการทำสัญญาจะเป็นหลักการสำคัญในกฎหมาย  แต่ก็หาใช่ว่า จะเป็นสิ่งที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้    บริษัทผู้ผลิตต้องมีภาระเป็นพิเศษในเรื่องการสร้าง  การโฆษณาและการขายรถยนต์ของตน     ศาลไม่ยอมปล่อยให้อยู่ใต้บังคับของข้อตกลงต่อรองซึ่งคู่กรณีฝ่ายหนึ่งได้ฉก ฉวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นธรรมจากอีกฝ่ายหนึ่ง (ในเรื่องคดีนี้ อาจยกตัวอย่างคดีอื่นๆ ได้)
 ดวอร์กิ้นเห็นว่า  มาตรฐานที่ศาลใช้เป็นเหตุผลของคำพิพากษามิใช่สิ่งที่เราเข้าใจว่าเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย  แต่คือหลักการทางกฎหมาย    ในการมองธรรมชาติของกฎหมายว่ามิใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์หรือระบบแห่งกฎหมายเท่านั้น  แต่ยังมีสาระของเรื่องหลักการประกอบอยู่ด้วย  ความเชื่อตรงนี้ทำ ให้ดวอร์กิ้นวิพากษ์วิจารณ์ฮาร์ทอย่างมากในเรื่องการใช้ดุลพินิจของผู้พิพากษานอกเหน ือกฎหมาย  ในการตัดสินคดีที่ยุ่งยาก  ซับซ้อน ในลักษณะคล้ายเป็นการตรากฎหมายขึ้นใหม่  ซึ่งฮาร์ทถือว่าทำได้   แต่ดวอร์กิ้นไม่ยอมรับดุลพินิจเช่นนี้  โดยเชื่อว่าผู้พิพากษาสามารถค้นหาคำตอบได้จากหลักการภายในกฎหมายมิใช่ใช้ดุลพินิจบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเอง
 
 ดวอร์กิ้นเห็นว่า  มาตรฐานที่ศาลใช้เป็นเหตุผลของคำพิพากษามิใช่สิ่งที่เราเข้าใจว่าเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย  แต่คือหลักการทางกฎหมาย    ในการมองธรรมชาติของกฎหมายว่ามิใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์หรือระบบแห่งกฎหมายเท่านั้น  แต่ยังมีสาระของเรื่องหลักการประกอบอยู่ด้วย  ความเชื่อตรงนี้ทำ ให้ดวอร์กิ้นวิพากษ์วิจารณ์ฮาร์ทอย่างมากในเรื่องการใช้ดุลพินิจของผู้พิพากษานอกเหน ือกฎหมาย  ในการตัดสินคดีที่ยุ่งยาก  ซับซ้อน ในลักษณะคล้ายเป็นการตรากฎหมายขึ้นใหม่  ซึ่งฮาร์ทถือว่าทำได้   แต่ดวอร์กิ้นไม่ยอมรับดุลพินิจเช่นนี้  โดยเชื่อว่าผู้พิพากษาสามารถค้นหาคำตอบได้จากหลักการภายในกฎหมายมิใช่ใช้ดุลพินิจบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเอง
 
3.   กฎหมายประวัติศาสตร์คืออะไร มีหลักการสำคัญ 3 ประการอย่างไรบ้าง
เส้น 139 ⟶ 146:
              ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  เป็นทฤษฎีทางกฎหมายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19   ซึ่งเป็นช่วงที่สังคมตะวันตกอยู่ในภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม  จากสังคมประเพณีที่ไม่ซับซ้อนสู่สังคมอุตสาหกรรม  (Industrial Society)   
          มีกลุ่มแนวคิดทฤษฎี  2  กลุ่ม  คือ
1.   กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางปีกขวา หรืออนุรักษ์เสรีนิยม   เยียริ่ง               
              เยียริ่ง  
-  ต้นกำเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา
- รากฐานอันแท้จริงของ เรื่อง “สิทธิ"” อยู่ที่ “ผลประโยชน์
- ต้นเหตุสำคัญของกฎหมายอยู่ที่การเป็นเครื่องมือเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม   - - 
- วัตถุประสงค์ของกฎหมายอยู่ที่การปกป้องหรือขยายการปกป้องผลประโยชน์ของสังคม             
 
-  ต้นกำเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา             
2.    กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางทางปีกซ้าย หรือโอนเอียงใกล้กับความคิดแบบสังคมนิยม      
 
ดิวกี้  เป็นผู้นำเสนอทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม  (Social Solidarism) ซึ่งเน้นเรื่องประโยชน์ของสังคม  เน้นเรื่องการกระจายอำนาจของรัฐ  ปฏิเสธการแยกกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน   ปฏิเสธการดำรงอยู่เรื่องสิทธิส่วนตัว  
- รากฐานอันแท้จริงของ เรื่อง “สิทธิ"” อยู่ที่ “ผลประโยชน์             
แกนกลางของกฎหมายอยู่ที่เรื่องหน้าที่  ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะประกันว่าแต่ละคนได้ดำเนินบทบาทของตนในการส่งเสริมความสมานฉ ันท์ในสังคม   
 
รอสโค พาวนด์  เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ  เน้นการศึกษาหรือการแก้ไขปัญหาเชิงปฎิบัติ  
- ต้นเหตุสำคัญของกฎหมายอยู่ที่การเป็นเครื่องมือเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม   -  -           
กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับคานประโยชน์ต่าง ๆ  ในสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุล    ซึ่งวิธีการคานประโยชน์ต่าง ๆ  นั้น  ก็ด้วยการสร้างกลไกในการคานอำนาจผลประโยชน์  เสมือนการก่อสร้างหรือวิศวกรรมสังคม  จึงเรียกว่า  ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม  (Social  Engineering Theory) 
 
- วัตถุประสงค์ของกฎหมายอยู่ที่การปกป้องหรือขยายการปกป้องผลประโยชน์ของสังคม                          
 
2.    กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางทางปีกซ้าย หรือโอนเอียงใกล้กับความคิดแบบสังคมนิยม     ดิวกี้  เป็นผู้นำเสนอทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม  (Social Solidarism) ซึ่งเน้นเรื่องประโยชน์ของสังคม  เน้นเรื่องการกระจายอำนาจของรัฐ  ปฏิเสธการแยกกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน   ปฏิเสธการดำรงอยู่เรื่องสิทธิส่วนตัว  แกนกลางของกฎหมายอยู่ที่เรื่องหน้าที่  ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะประกันว่าแต่ละคนได้ดำเนินบทบาทของตนในการส่งเสริมความสมานฉ ันท์ในสังคม    
 
รอสโค พาวนด์  เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ  เน้นการศึกษาหรือการแก้ไขปัญหาเชิงปฎิบัติ  กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับคานประโยชน์ต่าง ๆ  ในสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุล    ซึ่งวิธีการคานประโยชน์ต่าง ๆ  นั้น  ก็ด้วยการสร้างกลไกในการคานอำนาจผลประโยชน์  เสมือนการก่อสร้างหรือวิศวกรรมสังคม  จึงเรียกว่า  ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม  (Social  Engineering Theory) 
 
                   แบ่งอธิบายทฤษฎีของเขาเป็น  3  หัวข้อ  ได้แก่
 
1.   ความหมายของผลประโยชน์
                   1.   ความหมายของผลประโยชน์  ผลประโยชน์ คือ  “ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  หรือความปรารถนาที่มนุษย์ต่างยืนยันเพื่อให้ได้มาอย่างแท้จริง  และเป็นภารกิจที่กฎหมายต้องกระทำการอันใดอันหนึ่ง  เพื่อสิ่งเหล่านั้นหากต้องการธำรงไว้ซึ่งสังคมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย”   ผลประโยชน์ดังกล่าวนี้   เป็นสิ่งที่กฎหมายมีหน้าที่ต้องตอบสนอง
 
2.   ประเภทของผลประโยชน์
                   2.   ประเภทของผลประโยชน์        รอสโค พาวนด์   แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่
 
                   1.   ผลประโยชน์ของปัจเจกชน   คือ  ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  ความปรารถนา  และความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
เส้น 184 ⟶ 192:
5.ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป  
 
6.ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น        
 
5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ   
เส้น 193 ⟶ 201:
1.   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือผลสะท้อนของโครงสร้างทางเศรษฐกิจหรือเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
2.   กฎหมายเป็นเสมือนเครื่องมือหรืออาวุธของชนชั้นปกครองที่สร้างขึ้นเพื่อปกป้องอำนาจของตน กฎหมายเป็นเครื่องมือกดขี่ประชาชนของชนชั้นปกครอง
3.   สังคมคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์ไม่ต้องมีกฎหมาย  กฎหมายในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการควบคุมสังคมจะเหือดหาย  (Writering Away)   และสูญสิ้นไปในที่สุด               
 
  6.   หลักนิติธรรมและดื้อแพ่งคืออะไร   มีหลักการสำคัญอย่างไร