ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 157:
2.   ประเภทของผลประโยชน์
              รอสโค พาวนด์   แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่
 
                   1.   ผลประโยชน์ของปัจเจกชน   คือ  ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  ความปรารถนา  และความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
 
-  ผลประโยชน์ด้านบุคลิกภาพส่วนตัว  
เส้น 163 ⟶ 164:
-  ความสัมพันธ์ทางครอบครัว   
 
-   ผลประโยชน์อันเป็นแก่นสาระสำคัญ   ซึ่งรวมถึงการมีทรัพย์สินส่วนบุคคล และเสรีภาพในการประกอบกิจการในด้านต่าง ๆ     
 
2.   ผลประโยชน์ของมหาชน     
 
3.   ผลประโยชน์ของสังคม   
 
3.           วิธีการคานหรือถ่วงดุลผลประโยชน์              การนำเอาผลประโยชน์แต่ละประเภทมาคานกันให้เกิดการขัดแย้งน้อยที่สุดในสังคมแบบการกระ ทำวิศวกรรม 
              การนำเอาผลประโยชน์แต่ละประเภทมาคานกันให้เกิดการขัดแย้งน้อยที่สุดในสังคมแบบการกระ ทำวิศวกรรม 
 
ภาระสำคัญ 6 ประการของนักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  ดังนี้  
1               ต้องศึกษาถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงของสถาบันทางกฎหมายและทฤษฎีกฎหมาย
2               ต้องศึกษาเชิงสังคมวิทยาในเรื่องการตระเตรียมการนิติบัญญัติโดยเฉพาะในเรื่องของผลการนิติบัญญัติเชิงเปรียบเทียบ
3               ต้องศึกษาถึงเครื่องมือหรือกลไกที่จะทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีประสิทธิภาพ  ใช้ได้ผลจริง  โดยถือว่า “ความมีชีวิตของกฎหมายปรากฏอยู่ที่การบังคับใช้กฎหมาย”
4               ต้องศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายเชิงสังคมวิทยา  ด้วยการตรวจพิจารณาดูว่า  ทฤษฎีกฎหมายต่าง ๆ ได้ส่งผลลัพธ์ประการใดบ้างในอดีต
5              ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป
6               ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น  
 
1               .ต้องศึกษาถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงของสถาบันทางกฎหมายและทฤษฎีกฎหมาย  
5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  
 
ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ       
2               .ต้องศึกษาเชิงสังคมวิทยาในเรื่องการตระเตรียมการนิติบัญญัติโดยเฉพาะในเรื่องของผลการนิติบัญญัติเชิงเปรียบเทียบ  
                 มาร์กซ  นักกฎหมายชาวยิว มองกฎหมายว่าเป็นเพียงกลไกเพื่อรับใช้ประโยชน์ของคนบางกลุ่มบางชนชั้นที่มีอำนาจในสั งคม  มิใช่เป็นกลไกที่มีความเป็นอิสระในการใช้ประนีประนอมผลประโยชน์ขัดแย้งทั้งหลาย  มาร์กซ  มีท่าทีต่อต้านทฤษฎีปฏิฐานนิยม  
 
3               .ต้องศึกษาถึงเครื่องมือหรือกลไกที่จะทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีประสิทธิภาพ  ใช้ได้ผลจริง  โดยถือว่า “ความมีชีวิตของกฎหมายปรากฏอยู่ที่การบังคับใช้กฎหมาย”  
 
4               .ต้องศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายเชิงสังคมวิทยา  ด้วยการตรวจพิจารณาดูว่า  ทฤษฎีกฎหมายต่าง ๆ ได้ส่งผลลัพธ์ประการใดบ้างในอดีต  
 
5              .ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป  
 
6               .ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น    
 
5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ       
 
                 มาร์กซ  นักกฎหมายชาวยิว มองกฎหมายว่าเป็นเพียงกลไกเพื่อรับใช้ประโยชน์ของคนบางกลุ่มบางชนชั้นที่มีอำนาจในสั งคม  มิใช่เป็นกลไกที่มีความเป็นอิสระในการใช้ประนีประนอมผลประโยชน์ขัดแย้งทั้งหลาย  มาร์กซ  มีท่าทีต่อต้านทฤษฎีปฏิฐานนิยม  
 
                นักทฤษฎีมาร์กซิสต์ได้สรุปความและวิจารณ์ธรรมชาติหรือบทบาทของกฎหมายเป็นข้อสรุปดังน ี้
เส้น 190 ⟶ 198:
หลักนิติธรรม  หมายถึง  “การเคารพเชื่อฟังต่อกฎหมาย หรือ  การที่รัฐบาลต้องปกครองด้วยกฎหมายและอยู่ภายใต้กฎหมาย” (นั่นคือ กฎหมายจะสูงสุด)  นอกจากนี้ยังมีความหมายของหลักนิติธรรมตามที่มีบุคคลต่าง ๆ ได้ให้นิยามความหมายไว้ที่สำคัญ ดังนี้
อริสโตเติ้ล  “ปัญญาที่ตัดขาดแล้วจากอารมณ์ความรู้สึก”
ไดซีย์   มีนัย   3  ประการ  คือ   
 
1.    การที่ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจลงโทษบุคคลใดได้ตามอำเภอใจ
2  1.    การที่ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจลงโทษบุคคลใดอยู่เหนือกฎหมายได้ตามอำเภอใจ 
 
   3.   หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนเป็นผลมาจากคำวินิจฉัยตัดสินของศาลหรือกฎหมายธรรมดา (เฉพาะประเทศอังกฤษ)   มิใช่เกิดจากการรับรองค้ำประกันเป็นพิเศษโดยรัฐธรรมนูญ  ดังกรณีของรัฐธรรมนูญประเทศอื่น
  2.   ไม่มีบุคคลใดอยู่เหนือกฎหมาย 
 ไดซีย์ได้กล่าวอย่างน่าสนใจว่า  “ หลักนิติธรรมนั้นตรงกันข้ามกับรัฐบาลทุกระบบที่บุคคลผู้มีอำนาจสามารถใช้ อำนาจจับกุม คุมขังบุคคลใดได้อย่างกว้างขวางโดยพลการหรือตามดุลพินิจของตนเอง ”
 
คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล เน้นย้ำถึงเรื่องการมีสิทธิเสรีภาพและการยอมรับในศักดิ์ศรีของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นคุณสมบัติอันจำเป็นสำหรับความเป็นมนุษย์ที่แท้จริง  โดยมีกลุ่มสิทธิ 2  ประเภทที่เน้นย้ำความสำคัญ  คือ สิทธิทางแพ่งและทางการเมืองประการหนึ่ง   และสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคมอีกประการหนึ่ง   
    3.   หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนเป็นผลมาจากคำวินิจฉัยตัดสินของศาลหรือกฎหมายธรรมดา (เฉพาะประเทศอังกฤษ)   มิใช่เกิดจากการรับรองค้ำประกันเป็นพิเศษโดยรัฐธรรมนูญ  ดังกรณีของรัฐธรรมนูญประเทศอื่น
สำหรับประเทศไทย สิทธิมนุษยชนโดยหลักนิติธรรม  มีปรากฏใน รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540  เช่น
 ไดซีย์ได้กล่าวอย่างน่าสนใจว่า  “ หลักนิติธรรมนั้นตรงกันข้ามกับรัฐบาลทุกระบบที่บุคคลผู้มีอำนาจสามารถใช้ อำนาจจับกุม คุมขังบุคคลใดได้อย่างกว้างขวางโดยพลการหรือตามดุลพินิจของตนเอง ”คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล เน้นย้ำถึงเรื่องการมีสิทธิเสรีภาพและการยอมรับในศักดิ์ศรีของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นคุณสมบัติอันจำเป็นสำหรับความเป็นมนุษย์ที่แท้จริง  โดยมีกลุ่มสิทธิ 2  ประเภทที่เน้นย้ำความสำคัญ  คือ สิทธิทางแพ่งและทางการเมืองประการหนึ่ง   และสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคมอีกประการหนึ่ง   
-   มาตรา 4  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  สิทธิและเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง
สำหรับประเทศไทย สิทธิมนุษยชนโดยหลักนิติธรรม  มีปรากฏใน รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540  เช่น  
-   มาตรา 26  การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร  ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  สิทธิ
 
และเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
-    มาตรา 4  28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนบุคคลย่อมได้เท่าที่ไม่รับความคุ้มครอง  
 
ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น  ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน  
-    มาตรา 26  การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร  ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  สิทธิ
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้สามารถยกบท บัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ 
และเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้  
(เวลาตอบให้ยกตัวอย่าง อองซาน ซูจี ในการถูกละเมิดสิทธิ เสรีภาพ) 
 
  มาตรา  28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น  ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน  บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้สามารถยกบท บัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ (เวลาตอบให้ยกตัวอย่าง อองซาน ซูจี ในการถูกละเมิดสิทธิ เสรีภาพ) 
 
การดื้อแพ่งกฎหมาย คือ  การกระทำที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายโดยสันติวิธี  เป็นการกระทำเชิงศีลธรรม  ในลักษณะของการประท้วงคัดค้านต่อกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมหรือต่อการกระทำของรัฐบาลที่เห ็นว่าไม่ถูกต้อง  โดยการขัดขืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ให้ความร่วมมือ โดยต้องมีเหตุผลรองรับที่เชื่อถือได้ จึงจะสามารถยกเว้นหลักทั่วไปที่ต้องเชื่อฟังกฎหมาย  
วิวาทะเรื่องการดื้อแพ่งกฎหมายของประชาชน
-  ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย  ยืนยันว่า  ความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายที่ทุกคนต้องเชื่อฟังโดยไม่มีข้อยกเว้นใด  
 
-  ฝ่ายที่เห็นด้วย    ยืนยันว่า  กฎหมายที่ไม่เป็นธรรมไม่ใช่กฎหมาย   
-  ฝ่ายที่เห็นด้วย    ยืนยันว่า  กฎหมายที่ไม่เป็นธรรมไม่ใช่กฎหมาย   รอลส์  ให้ความเห็นชอบในเรื่องการดื้อแพ่งกฎหมายของประชาชน  แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งความชอบธรรม    4  ประการ   ดังนี้ 
1.  ต้องเป็นการกระทำที่มีจุดประสงค์ของการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่สังคม    
 
2.  กฎหมายที่ต่อต้านหรือดื้อแพ่งนั้น  ต้องเป็นกฎหมายที่ขาดความชอบธรรมเป็นอย่างมาก                 
3.  การไม่เคารพหรือต่อต้านกฎหมายต้องเป็นการปฏิบัติการซึ่งเป็นทางเลือกสุดท้าย  
 
3.  การไม่เคารพหรือต่อต้านกฎหมายต้องเป็นการปฏิบัติการซึ่งเป็นทางเลือกสุดท้าย    
 
4.  การต่อต้านกฎหมายต้องกระทำโดยสันติวิธี,  โดยเปิดเผย