ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย "นิติปรัชญา  1.   กฎหมายธรรมชาติคืออะไร  มีพัฒนาการอย่าง..."
 
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9:
== พัฒนการของกฎหมาย ==
 
1.     ยุคกรีกโบราณและโรมัน        
 
   1.1   จุดก่อตัวของแนวคิดปรัชญากฎหมายธรรมชาติ  เกิดโดย  เฮราคลิตุส  ธรรมชาติคือความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง  แก่นสารของชีวิตคือธรรมชาติ   
   -   โซโฟครีส  เขียนหนังสือชื่อ  แอนโทโกนี  เป็นละครโศกนาฏกรรม(เรื่องการทำศพพี่ชาย)ที่บรรจุหลักการสำคัญในการแยกกฎหมายอันแท้จ ริงออกจากโครงสร้าง, อำนาจรัฐ  และยืนยันความเป็นโมฆะของกฎหมายแผ่นดินที่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายธรรมชาติหรือความยุติ ธรรม   เนื่องจากโซโฟครีส   เชื่อหลักความเป็นธรรมตามธรรมชาติ
 
   -  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ” 
   -   โซโฟครีส  เขียนหนังสือชื่อ  แอนโทโกนี  เป็นละครโศกนาฏกรรม(เรื่องการทำศพพี่ชาย)ที่บรรจุหลักการสำคัญในการแยกกฎหมายอันแท้จ ริงออกจากโครงสร้าง, อำนาจรัฐ  และยืนยันความเป็นโมฆะของกฎหมายแผ่นดินที่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายธรรมชาติหรือความยุติ ธรรม   เนื่องจากโซโฟครีส   เชื่อหลักความเป็นธรรมตามธรรมชาติ 
   1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา  
 
   -  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ”    
 
   1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา  
   1.3     สำนักสโตอิค  มีแนวความคิดพื้นฐานว่า ในจักรวาลประกอบด้วย “เหตุผล” ซึ่งเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน  มนุษย์ซึ่งถูกกำหนดควบคุมโดย “เหตุผล” 
   1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม  
   2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  
ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    
ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 
 
   1)   กฎหมายนิรันดร์        
   2 1)   กฎหมายธรรมชาตินิรันดร์         
 
   3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์       
   12 )   กฎหมายนิรันดร์  ธรรมชาติ      
   4.)   กฎหมายของมนุษย์ 
 
   3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์        
 
   4.)   กฎหมายของมนุษย์ 
 
3.   ยุคฟื้นฟู และยุคปฏิรูป  (เป็นยุคที่เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ)
เป็นยุคที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาติแยกออกจากการครอบงำของศาสนาคริสต์  มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์  ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ        &n bsp;      
-   ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ     
 
4.   ยุคชาติรัฐนิยม   เป็นยุคที่กฎหมายธรรมชาติมีความเสื่อมลง เพราะ     
   1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)  
   2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  
 
   1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)    
5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2)
มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ 
1)   ในแง่สนับสนุนอุดมคตินิยมทางกฎหมายเชิงจริยธรรม  
2)   เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิซึ่งสนับสนุนเรื่องสิทธิมนุษยชน   
 
   2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  
ในยุคนี้ทำให้เกิดกฎหมายธรรมชาติร่วมสมัย  
 
-   ฟูลเลอร์  เชื่อมั่นในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศีลธรรม  เน้นความสำคัญของเรื่อง “วัตถุประสงค์”  ซึ่งประกาศว่า กฎหมายจำต้องบรรจุด้วยหลักเกณฑ์ทางศีลธรรม  หรือที่เขาเรียกว่า  “The  Inner Morality of Law”      โดยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขสำคัญ  8 ประการ
5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ    
   1)   กฎหมายต้องมีลักษณะทั่วไป
 
    2)   ต้องถูกตีพิมพ์เผยแพร่ให้ปรากฏแก่สาธารณะ 
5.1)   ในแง่สนับสนุนอุดมคตินิยมทางกฎหมายเชิงจริยธรรม     
   3)   ต้องไม่มีผลย้อนหลัง  
 
   4)   ต้องมีลักษณะชัดแจ้ง  และสามารถเป็นที่เข้าใจได้  
5.2)   เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิซึ่งสนับสนุนเรื่องสิทธิมนุษยชน   
   5)   ต้องไม่มีความขัดแย้งกัน 
 
   6)   ต้องไม่เป็นการกำหนดบังคับในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ 
ในยุคนี้ทำให้เกิดกฎหมายธรรมชาติร่วมสมัย     
   7)   ต้องมีความมั่นคง  แน่นอน
 
   8)   ต้องมีความกลมกลืน 
-   ฟูลเลอร์  เชื่อมั่นในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศีลธรรม  เน้นความสำคัญของเรื่อง “วัตถุประสงค์”  ซึ่งประกาศว่า กฎหมายจำต้องบรรจุด้วยหลักเกณฑ์ทางศีลธรรม  หรือที่เขาเรียกว่า  “The  Inner Morality of Law”      โดยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขสำคัญ  8 ประการ      
-   จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ 
 
   1)   กฎหมายต้องมีลักษณะทั่วไป      
 
    2)   ต้องถูกตีพิมพ์เผยแพร่ให้ปรากฏแก่สาธารณะ       
 
   3)   ต้องไม่มีผลย้อนหลัง     
 
   4)   ต้องมีลักษณะชัดแจ้ง  และสามารถเป็นที่เข้าใจได้     
 
   5)   ต้องไม่มีความขัดแย้งกัน    
 
   6)   ต้องไม่เป็นการกำหนดบังคับในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้    
 
   7)   ต้องมีความมั่นคง  แน่นอน   
 
   8)   ต้องมีความกลมกลืน    
 
-   จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ 
   1)   รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรืองของมนุษย์
    2)     สิ่งจำเป็นเชิงวิชาการพื้นฐานของความชอบด้วยเหตุผลเชิงปฏิบัติ
เส้น 59 ⟶ 79:
ทฤษฎีปฎิฐานนิยมทางกฎหมาย หรือ“กฎหมายบ้านเมือง” (กฎหมายต้องเป็นกฎหมาย)  มีแนวคิดหลักว่ากฎหมายคือเจตจำนงหรือคำสั่งของรัฏฐาธิปัตย์,  ความสมบูรณ์ของกฎหมายอยู่ที่สภาพบังคับที่เด็ดขาด,  กฎหมายนั้นไม่จำต้องผูกติดสัมพันธ์กับความยุติธรรมหรือหลักจริยธรรมใด ๆ  จึงทำให้ทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  เป็นแนวคิดที่สวนทางกลับทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ 
ทรรศนะพื้นฐานสำคัญ
 
   1)   ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่เป็นอยู่จริง  (Is) หาใช่เป็นสิ่งเดียวหรือ
1)   ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่เป็นอยู่จริง  (Is) หาใช่เป็นสิ่งเดียวหรือสัมพันธ์กับหลักคุณค่าบรรทัดฐานหรือสิ่งที่ควรจะเป็น (Ought) ไม่  
 
2)   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นโดยอำนาจปกครองในสังคม
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  แบ่งออกเป็น  3  ประการ  คือ
 
1.    กฎหมายไม่เกี่ยวข้องกับศีลธรรม  
 
2.    กฎหมายมาจากรัฎฐาธิปัตย์  
 
3.    กฎหมายเป็นสิ่งที่มีสภาพบังคับหรือมีบทลงโทษ  
 
พัฒนาการทางทฤษฎีนี้เป็นผลทำให้การแยกทฤษฎีออกเป็นสองแบบฉบับ (Version)  คือ
 
1.   แบบฉบับดั้งเดิม  ในคริสต์ศตวรรษที่ 19   
 
      -   เบนแธม (is กับ ought แยกออกจากกัน) เป็นนักปรัชญาและนักปฏิรูปกฎหมายคนสำคัญของชาวอังกฤษ    และเป็นผู้สนับสนุนลัทธิหรือหลักอรรถประโยชน์    ซึ่งเชื่อว่า  คุณค่าของการกระทำใด ๆ ล้วนต้องพิจารณาจากผลลัพธ์ในแง่อรรถประโยชน์หรือความสุขที่เกิดขึ้น
   -   ออสติน  (Austin)  ทฤษฎีคำสั่งแห่งกฎหมาย   ซึ่งเรียกกันในภายหลังว่า “นิติศาสตร์เชิงวิเคราะห์”    ซึ่งจะเน้นที่ลักษณะภายนอกของสภาพบังคับกฎหมาย  หรือเน้นที่ตัวบุคคลผู้มีอำนาจออกกฎหมาย
 
   -   ออสติน  (Austin)  ทฤษฎีคำสั่งแห่งกฎหมาย   ซึ่งเรียกกันในภายหลังว่า “นิติศาสตร์เชิงวิเคราะห์”    ซึ่งจะเน้นที่ลักษณะภายนอกของสภาพบังคับกฎหมาย  หรือเน้นที่ตัวบุคคลผู้มีอำนาจออกกฎหมาย
 2.   แบบฉบับซึ่งได้รับการพัฒนาแก้ไขปรับปรุง    ในคริสต์ศตวรรษที่ 20   
 
   -   ฮาร์ท   (จะเน้นประสิทธิภาพของกฎหมาย) ถือว่า   ระบบกฎหมายนั้นเป็นระบบแห่งกฎเกณฑ์ทางสังคมรูปแบบหนึ่ง  “โดยพื้นฐานแท้จริงแล้ว  การยึดมั่นของปฎิฐานนิยมทางกฎหมายในบทสรุปของแนวคิดเรื่องการแยกกฎหมายออกจากศีลธรรม นั้น   ในตัวของมันวางอยู่บนเหตุผลทางศีลธรรม” 
-   ฮาร์ท   (จะเน้นประสิทธิภาพของกฎหมาย) ถือว่า   ระบบกฎหมายนั้นเป็นระบบแห่งกฎเกณฑ์ทางสังคมรูปแบบหนึ่ง  “โดยพื้นฐานแท้จริงแล้ว  การยึดมั่นของปฎิฐานนิยมทางกฎหมายในบทสรุปของแนวคิดเรื่องการแยกกฎหมายออกจากศีลธรรม นั้น   ในตัวของมันวางอยู่บนเหตุผลทางศีลธรรม”    และได้แบ่งกฎเกณฑ์ของ   “ระบบกฎหมาย”   ออกเป็น  2  ประเภท  คือ กฎปฐมภูมิและกฎทุติยภูมิ ในทรรศนะของฮาร์ท  ถือว่าเป็นกฎหลักสองประการที่เน้นประสิทธิภาพของกฎหมาย     ทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีความสมบูรณ์
 
   1)   กฎปฐมภูมิ (สารบัญญัติ) หมายถึง  กฎเกณฑ์ทั่วไปซึ่งวางบรรทัดฐานการประพฤติให้คนทั่วไปในสังคม  และก่อให้เกิดหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามในลักษณะเป็นกฎหมายเบื้องต้นทั่วไป   
   2)   กฎทุติยภูมิ (วิธีสบัญญัติ)  หมายถึง  กฎเกณฑ์พิเศษที่สร้างขึ้นมาเสริมความสมบูรณ์ของกฎปฐมภูมิ   เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้มากยิ่งขึ้น  
   โดยองค์ประกอบของกฎทุติยภูมิออกเป็น 3 กฎย่อย  คือ
1)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การรับรองความเป็นกฎหมายที่สมบูรณ์  
 
2)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การบัญญัติและแก้ไขเปลี่ยนแปลง
 
 3)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การวินิจฉัยชี้ขาดตัดสิน 
3)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การวินิจฉัยชี้ขาดตัดสิน ข้อวิจารณ์ของ   ฟูลเลอร์  (Fuller)   ที่มีต่อระบบกฎเกณฑ์ของฮาร์ท ฟูลเลอร์  เป็นนักทฤษฎีฝ่ายกฎหมายธรรมชาติ    -   ยอมรับข้อเสนอของฮาร์ทที่ว่า  “กฎหมายคือระบบของกฎเกณฑ์”     -   แต่ก็ยังยืนยันความสำคัญของเรื่องวัตถุประสงค์ภายในตัวกฎหมาย       
ฟูลเลอร์  เป็นนักทฤษฎีฝ่ายกฎหมายธรรมชาติ    
   -   ยอมรับข้อเสนอของฮาร์ทที่ว่า  “กฎหมายคือระบบของกฎเกณฑ์”  
   -   แต่ก็ยังยืนยันความสำคัญของเรื่องวัตถุประสงค์ภายในตัวกฎหมาย       
ฟูลเลอร์  ไม่เห็นด้วยอย่างมากกับการที่ฮาร์ทสรุปว่า  กฎหมายเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์ล้วน ๆ  และไม่จำต้องเกี่ยวข้องกับหลักศีลธรรมหรือหลักคุณค่านามธรรมเสมอไป   กล่าวคือ  ฟูลเลอร์เห็นว่า  “กฎหมายนั้นต้องสนองตอบความจำเป็นหรือวัตถุประสงค์ทางศีลธรรม  กฎหมายและศีลธรรมจึงเป็นสิ่งที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้  กฎหมายจะต้องมีสิ่งที่อาจเรียกว่า  “ศีลธรรมภายในกฎหมาย”  บรรจุอยู่เสมอ” และ ไม่เห็นด้วยกับฮาร์ทที่แยกกฎปฐมภูมิซึ่งเป็นกฎที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดพันธะหน้าที่ และกฎทุติยภูมิซึ่งเป็นกฎเกี่ยวกับการให้อำนาจด้านกฎหมาย  ออกจากกันโดยเด็ดขาด  เพราะในบางสถานการณ์กฎอันเดียวกันอาจให้ทั้งอำนาจและกำหนดหน้าที่  ไม่จำกัดบทบาทเพียงอย่างหนึ่งอย่างใด  หากแต่ต้องแปรผันไปตามสภาพแวดล้อม 
ข้อวิจารณ์ของ    ดวอร์กิ้น  (Dworkin)  ที่มีต่อระบบกฎเกณฑ์ของฮาร์ท