ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ชนิดของคำ/คำนาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัดที่ 8:
* ''คำนามบอกอาการ'' หรือ ''อาการนาม'' เป็นคำที่บอกการกระทำหรือการแสดงมักมีคำว่า การ ความ นำหน้า เช่น การกิน การนอน ความดี ความชั่ว
 
== หน้าที่ของคำนาม ==กริยามีดังนี้คือ
* ทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น '''''ตำรวจ'''''จับผู้ร้าย '''''พ่อ'''''ขับรถจักรยานยนต์
* ทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น แมวไล่'''''หนู''''' ฉัตรชัยกิน'''''ข้าว'''''
* ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น แม่ทำ'''''ทองหยิบ'''''ให้'''''นิด'''''
(ทองม้วน ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยา ทำ และ นิด เป็นกรรมรองของกริยา ทำ )
* ทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น
* ทำหน้าที่ขยายกริยา บอกสถานที่ ทิศทาง หรือเวลา เช่น เขาไป'''''ตลาด''''' นิดชอบทำงาน'''''กลางคืน'''''
 
๑. ทำหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค เช่น
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ชนิดของคำ|คำนาม]]
- ขนมวางอยู่บนโต๊ะ - นักเรียนอ่านหนังสือทุกวัน
 
*๒. ทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น เช่น
- วันเดินทางของเขาคือวันพรุ่งนี้ ("เดินทาง" เป็นคำกริยาที่ไปขยายคำนาม "วัน")
 
๓. ทำหน้าที่ขยายกริยา เช่น
- เด็กคนนั้นนั่งดูนก ("ดู" เป็นคำกริยาที่ไปขยายคำกริยา "นั่ง")
 
๔. ทำหน้าที่เหมือนคำนาม เช่น
- ออกกำลังกายทุกวันทำให้ร่างกายแข็งแรง ("ออกกำลังกาย" เป็นคำกริยา ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค)
- เด็กชอบเดินเร็วๆ ("เดิน" เป็นคำกริยา ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค)