ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติเหตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 13:
{{fs|140%|{{cl|#c96031|'''ดังที่'''}}}}อาจได้ศึกษามาแล้วว่า [[หนี้]]เป็นความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ฝ่ายหนึ่งเรียกว่า "เจ้าหนี้" มีสิทธิบังคับให้อีกฝ่ายซึ่งเรียก "ลูกหนี้" ทำหรือไม่ทำการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของฝ่ายเจ้าหนี้ได้ และหนี้[[มูลหนี้|เกิดขึ้นจาก]]สิ่งสองสิ่ง คือ นิติกรรม และนิติเหตุ<ref name = "c 22">จิ๊ด เศรษฐบุตร. (2554). ''หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้.'' (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577. หน้า 22.</ref>
 
'''[[นิติกรรม]]''' (legal transaction) คือ การที่บุคคลกระทำลงด้วยใจสมัครและโดยชอบด้วยกฎหมาย เพื่อก่อความสัมพันธ์ทางกฎหมายขึ้น ส่วน'''นิติเหตุ''' (legal cause หรือ proximate cause) นั้นตรงกันข้าม กล่าวคือ เป็นเหตุการณ์ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องเกิดมีความสัมพันธ์ทางกฎหมายกันขึ้น เพราะกฎหมายบัญญัติไว้เช่นนั้น ไม่ว่าเขาจะสมัครใจหรือไม่ก็ตาม
 
นิติเหตุแบ่งเป็นสี่อย่าง คือ<ref name = "c 22"/>
 
:# [[ละเมิด]] (tort) เป็นการจงใจหรือประมาทเลินเล่อทําต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย เป็นเหตุให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิ
:# [[จัดการงานนอกสั่ง]] (agency without specific authorisation) เป็นการที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่ง โดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี
:# [[ลาภมิควรได้]] (unjust enrichment) เป็นการที่บุคคลได้ทรัพย์สินงอกเงยขึ้นมาจากมูลเหตุที่ไม่มีกฎหมายรองรับ และ
:# บุคคลสถานะ (personal status) เช่น หน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร หรือหน้าที่ของคู่สมรส
 
บรรทัดที่ 27:
 
{{smr}}
 
 
 
----