ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมและสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 19:
'''[[นิติเหตุ]]''' (legal cause) คือ เหตุการณ์ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องกลายเป็นหนี้เพราะกฎหมายกำหนดไว้ ไม่ว่าเขาจะสมัครใจเป็นหนี้หรือไม่ก็ตาม เช่น นางสาวแพปลาใช้โทรจิตขณะขับรถยนต์อยู่บนทางด่วน จึงชนรถตู้โดยสารสาธารณะเข้าอย่างจัง และเป็นเหตุให้เก้าชีวิตต้องตาย ผู้คนอีกหกรายต้องบาดเจ็บ นางสาวแพปลาจึงมีหนี้ที่จะต้องใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย เพราะกฎหมายถือว่า เธอทำละเมิดต่อผู้เสียหาย ไม่ใช่เพราะเธอสมัครใจจะเป็นหนี้
 
ส่วน'''นิติกรรม''' (legal transaction,<ref>"Legal transaction" เป็นถ้อยคำที่ใช้อยู่ในกฎหมายเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า "Rechtsgeschäfte" เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 111 ว่า
<blockquote>"Section 111 Unilateral legal transactions</blockquote>
<blockquote>"A unilateral legal transaction that a minor undertakes without the necessary consent of the legal representative is ineffective. If the minor undertakes such a legal transaction with regard to another person with this consent, the legal transaction is ineffective if the minor does not present the consent in writing and the other person rejects the legal transaction for this reason without undue delay. Rejection is not possible if the representative had given the other person notice of the consent."</blockquote>
</ref>, juristic act<ref>"Juristic act" เป็นถ้อยคำที่ใช้อยู่ในกฎหมายญี่ปุ่น ตรงกับภาษาญี่ปุ่นว่า "法律行為" (hōritsu kōi) เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 90 ว่า
<blockquote>"Article 90 (Public Policy)</blockquote>
<blockquote>"A juristic act with any purpose which is against public policy is void."</blockquote>