ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมและสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 27:
ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร ว่า คำ "juristic act" นี้แปลมาจาก "นิติกรรม" ในภาษาไทย (นิตยา กาญจนะวรรณ, ม.ป.ป.: ออนไลน์) แต่ความจริงแล้วกลับกัน คือ คำว่า "นิติกรรม" ในภาษาไทยแปลมาจากคำ "juristic act" ในภาษาอังกฤษซึ่งปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นดังข้างต้น เนื่องจากไทยใช้ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นเป็นแม่แบบในการร่าง ป.พ.พ. (ชาญชัย แสวงศักดิ์, 2539: 68) ดังที่ศาสตราจารย์หยุด แสงอุทัย กล่าวถึงการร่างบทบัญญัติเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญาใน ป.พ.พ. ไว้ว่า (หยุด แสงอุทัย, 2507: 129)
<blockquote>"เมื่อได้นำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ถูกยกเลิกมาเปรียบเทียบกับกฎหมายปัจจุบัน ก็ปรากฏว่า กฎหมายเก่าได้ร่างขึ้นโดยเทียบเคียงจากกฎหมายฝรั่งเศสและสวิสซึ่งใช้หลัก 'สัญญา' เป็นหลักทั่วไป ซึ่งอาจถือได้ว่าล่วงพ้นสมัย ส่วนกฎหมายปัจจุบันนั้นใช้หลัก 'นิติกรรม' เป็นหลักทั่วไป โดยเทียบมาจากกฎหมายเยอรมันและญี่ปุ่น ซึ่งนับว่าเป็นกฎหมายที่ทันสมัยกว่า เพราะได้บัญญัติขึ้นหลังกฎหมายฝรั่งเศสตั้งเกือบร้อยปี นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า มีข้อขาดตกบกพร่องในกฎหมายเก่าอีกมาก แต่ทั้งนี้ ไม่ควรจะถือว่า การทำประมวลกฎหมายฉบับที่ถูกยกเลิกไม่อำนวยประโยชน์เสียเลย เพราะได้ทำให้การทำประมวลกฎหมายแพ่ง บรรพ 1 และบรรพ 2 ฉบับปัจจุบัน สำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น"</blockquote>
</ref> หรือ juridical act<ref>"Juridical act" เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายอเมริกัน เว็บไซต์ยูเอสลีกัล (USLegal, 2013: online) นิยามว่า "Juridical act as used in civil law refers to a lawful act or expression of will intended to have legal consequences." และยังปรากฏในบทกฎหมายของรัฐในสหรัฐอเมริกา เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งลุยเซียนา ม. 28 ว่า
<blockquote>"Art. 28. Capacity to make juridical acts</blockquote>
<blockquote>"A natural person who has reached majority has capacity to make all sorts of juridical acts, unless otherwise provided by legislation."</blockquote>
</ref>) นั้นอธิบายคร่าว ๆ ก่อนว่า ต่างจากนิติเหตุตรงที่เกิดจากความสมัครใจของผู้เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างพวงทองแท้กับพิณทองชุบข้างต้น คู่กรณีในนิติกรรมจะมีกี่ฝ่ายก็ได้ ถ้ามีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมนั้นเรียก '''สัญญา''' (contract)
 
การแบ่งแยกระหว่างนิติกรรมกับสัญญาเป็นแนวคิดซึ่งพัฒนาขึ้นในวงการนิติศาสตร์เยอรมัน และแพร่หลายมาถึงประเทศที่ใช้กฎหมายเยอรมันเป็นแม่แบบกฎหมายของตัว เช่น ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ขณะที่บางท้องที่ในโลก เช่น ประเทศฝรั่งเศส แม้ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ (civil law) เหมือนประเทศเยอรมัน แต่ก็ไม่รู้จักนิติกรรม ท้องที่เหล่านี้เรียกความผูกพันทำนองนิติกรรมว่า "สัญญา" ทั้งสิ้น ไม่แบ่งแยกเป็นนิติกรรมและสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญานั้นจะได้ว่ากันต่อไปภายหน้า
เส้น 75 ⟶ 78:
** (2005-01-01). [http://www.legifrance.gouv.fr/content/download/1951/13685/version/5/file/Code_32.pdf ''French Commercial Code.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
** (2011-09-01). [http://www.legifrance.gouv.fr/affichCode.do;jsessionid=0B318A7293B7A6AB671B8A2491FB55A2.tpdjo17v_2?idSectionTA=LEGISCTA000006136539&cidTexte=LEGITEXT000006070721&dateTexte=20111213 ''Code civil des français'']. [En ligne]. (Accédé: 2013-11-10).
* Louisiana State Legislature. (2013). [http://www.legis.state.la.us/lss/lss.asp?folder=67 ''Civil Code.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
* Ministry of Justice of Japan. (2011). ''The Japanese Civil Code.'' [Online]. Available: [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=3 Parts 1–3] and [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=4 Parts 4–5]>. (Accessed: 2013-11-10).
* USLegal. (2013). [http://definitions.uslegal.com/j/juridical-act/ ''Juridical Act Law & Legal Definition.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).