ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมและสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 22:
<blockquote>"Section 111 Unilateral legal transactions</blockquote>
<blockquote>"A unilateral legal transaction that a minor undertakes without the necessary consent of the legal representative is ineffective. If the minor undertakes such a legal transaction with regard to another person with this consent, the legal transaction is ineffective if the minor does not present the consent in writing and the other person rejects the legal transaction for this reason without undue delay. Rejection is not possible if the representative had given the other person notice of the consent."</blockquote>
</ref> หรือ, juristic act<ref>"Juristic act" เป็นศัพท์ที่ใช้อยู่ในกฎหมายญี่ปุ่น เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 90 ว่า
<blockquote>"Article 90 (Public Policy)</blockquote>
<blockquote>"A juristic act with any purpose which is against public policy is void."</blockquote>
ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร ว่า คำ "juristic act" นี้แปลมาจาก "นิติกรรม" ในภาษาไทย (นิตยา กาญจนะวรรณ, ม.ป.ป.: ออนไลน์) แต่ความจริงแล้วกลับกัน คือ คำว่า "นิติกรรม" ในภาษาไทยแปลมาจากคำ "juristic act" ในภาษาอังกฤษซึ่งปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นดังข้างต้น เนื่องจากไทยใช้ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นเป็นแม่แบบในการร่าง ป.พ.พ. (ชาญชัย แสวงศักดิ์, 2539: 68) ดังที่ศาสตราจารย์หยุด แสงอุทัย กล่าวถึงการร่างบทบัญญัติเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญาใน ป.พ.พ. ไว้ว่า (หยุด แสงอุทัย, 2507: 129)
<blockquote>"เมื่อได้นำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ถูกยกเลิกมาเปรียบเทียบกับกฎหมายปัจจุบัน ก็ปรากฏว่า กฎหมายเก่าได้ร่างขึ้นโดยเทียบเคียงจากกฎหมายฝรั่งเศสและสวิสซึ่งใช้หลัก 'สัญญา' เป็นหลักทั่วไป ซึ่งอาจถือได้ว่าล่วงพ้นสมัย ส่วนกฎหมายปัจจุบันนั้นใช้หลัก 'นิติกรรม' เป็นหลักทั่วไป โดยเทียบมาจากกฎหมายเยอรมันและญี่ปุ่น ซึ่งนับว่าเป็นกฎหมายที่ทันสมัยกว่า เพราะได้บัญญัติขึ้นหลังกฎหมายฝรั่งเศสตั้งเกือบร้อยปี นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า มีข้อขาดตกบกพร่องในกฎหมายเก่าอีกมาก แต่ทั้งนี้ ไม่ควรจะถือว่า การทำประมวลกฎหมายฉบับที่ถูกยกเลิกไม่อำนวยประโยชน์เสียเลย เพราะได้ทำให้การทำประมวลกฎหมายแพ่ง บรรพ 1 และบรรพ 2 ฉบับปัจจุบัน สำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น"</blockquote>
</ref> หรือ juridical act<ref>"Juridical act" เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายอเมริกัน เว็บไซต์ยูเอสลีกัล (USLegal, 2013: online) นิยามว่า "Juridical act as used in civil law refers to a lawful act or expression of will intended to have legal consequences."</ref>) นั้นอธิบายคร่าว ๆ ก่อนว่า ต่างจากนิติเหตุตรงที่เกิดจากความสมัครใจของผู้เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างพวงทองแท้กับพิณทองชุบข้างต้น คู่กรณีในนิติกรรมจะมีกี่ฝ่ายก็ได้ ถ้ามีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมนั้นเรียก '''สัญญา''' (contract)
 
การแบ่งแยกระหว่างนิติกรรมกับสัญญาเป็นแนวคิดซึ่งพัฒนาขึ้นในวงการนิติศาสตร์เยอรมัน และแพร่หลายมาถึงประเทศที่ใช้กฎหมายเยอรมันเป็นแม่แบบกฎหมายของตัว เช่น ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ขณะที่บางท้องที่ในโลก เช่น ประเทศฝรั่งเศส แม้ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ (civil law) เหมือนประเทศเยอรมัน แต่ก็ไม่รู้จักนิติกรรม ท้องที่เหล่านี้เรียกความผูกพันทำนองนิติกรรมว่า "สัญญา" ทั้งสิ้น ไม่แบ่งแยกเป็นนิติกรรมและสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญานั้นจะได้ว่ากันต่อไปภายหน้า
บรรทัดที่ 76:
** (2011-09-01). [http://www.legifrance.gouv.fr/affichCode.do;jsessionid=0B318A7293B7A6AB671B8A2491FB55A2.tpdjo17v_2?idSectionTA=LEGISCTA000006136539&cidTexte=LEGITEXT000006070721&dateTexte=20111213 ''Code civil des français'']. [En ligne]. (Accédé: 2013-11-10).
* Ministry of Justice of Japan. (2011). ''The Japanese Civil Code.'' [Online]. Available: [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=3 Parts 1–3] and [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=4 Parts 4–5]>. (Accessed: 2013-11-10).
* USLegal. (2013). [http://definitions.uslegal.com/j/juridical-act/ ''Juridical Act Law & Legal Definition.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
</div>
{{div col end}}