ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมและสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 25:
<blockquote>"Article 90 (Public Policy)</blockquote>
<blockquote>"A juristic act with any purpose which is against public policy is void."</blockquote>
ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร ว่า คำ "juristic act" นี้แปลมาจาก "นิติกรรม" ในภาษาไทย (นิตยา กาญจนะวรรณ, ม.ป.ป.: ออนไลน์) แต่ความจริงแล้วกลับกัน คือ คำว่า "นิติกรรม" ในภาษาไทยแปลมาจากคำ "juristic act" ในภาษาอังกฤษซึ่งปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นดังข้างต้น เนื่องจากไทยใช้ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นเป็นแม่แบบในการร่าง ป.พ.พ. (ชาญชัย แสวงศักดิ์, 2539: 68) ดังที่ศาสตราจารย์หยุด แสงอุทัย กล่าวถึงการร่างบทบัญญัติเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญาใน ป.พ.พ. ไว้ว่า (หยุด แสงอุทัย, 2507: 129)
<blockquote>"เมื่อได้นำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ถูกยกเลิกมาเปรียบเทียบกับกฎหมายปัจจุบัน ก็ปรากฏว่า กฎหมายเก่าได้ร่างขึ้นโดยเทียบเคียงจากกฎหมายฝรั่งเศสและสวิสซึ่งใช้หลัก 'สัญญา' เป็นหลักทั่วไป ซึ่งอาจถือได้ว่าล่วงพ้นสมัย ส่วนกฎหมายปัจจุบันนั้นใช้หลัก 'นิติกรรม' เป็นหลักทั่วไป โดยเทียบมาจากกฎหมายเยอรมันและญี่ปุ่น ซึ่งนับว่าเป็นกฎหมายที่ทันสมัยกว่า เพราะได้บัญญัติขึ้นหลังกฎหมายฝรั่งเศสตั้งเกือบร้อยปี นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า มีข้อขาดตกบกพร่องในกฎหมายเก่าอีกมาก แต่ทั้งนี้ ไม่ควรจะถือว่า การทำประมวลกฎหมายฉบับที่ถูกยกเลิกไม่อำนวยประโยชน์เสียเลย เพราะได้ทำให้การทำประมวลกฎหมายแพ่ง บรรพ 1 และบรรพ 2 ฉบับปัจจุบัน สำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น"</blockquote>
</ref>) นั้นอธิบายคร่าว ๆ ก่อนว่า ต่างจากนิติเหตุตรงที่เกิดจากความสมัครใจของผู้เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างพวงทองแท้กับพิณทองชุบข้างต้น คู่กรณีในนิติกรรมจะมีกี่ฝ่ายก็ได้ ถ้ามีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมนั้นเรียก '''สัญญา''' (contract)
 
เส้น 54 ⟶ 56:
<div style="clear:both; font-size:90%">
* กฎหมายดีดี. (2555). [http://www.lawdd.net/petitionno?year=2554&type=1 ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2512 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
* ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2539). ''อิทธิพลของฝรั่งเศสในการปฏิรูปกฎหมายไทย.'' กรุงเทพฯ: นิติธรรม. ISBN 9747761577.
* ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์.
** (2553). ''คำอธิบายนิติกรรม–สัญญา.'' (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9789742889081.
เส้น 60 ⟶ 63:
* สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551-03-10). [http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.pdf ''ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
* สำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). [http://www.library.coj.go.th/Eb_Sentence/Sentence0.html ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
* หยุด แสงอุทัย. (2507-02-06). "การร่างกฎหมายในประเทศไทย". ''วารสารทนายความ'', (ปีที่ 6).
</div>