ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมและสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 13:
{{bs|type=merge}}
{{idx|type=merge}}
{{cl|grey|{{fs|140%|'''ในกฎหมายแพ่ง'''}}}}มีความสัมพันธ์อยู่รูปแบบหนึ่งเรียกว่า '''[[หนี้]]''' (obligation) เป็นสภาพที่บุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า "ลูกหนี้" (obligor) ต้องทำหรือไม่ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์ของบุคคลอีกฝ่ายซึ่งเรียกว่า "เจ้าหนี้" (obligee) เช่น พวงทองแท้ขอซื้อที่ดินรัชดาจากพิณทองชุบ และพิณทองชุบตกลงขาย พวงทองแท้กับพิณทองชุบจึงเป็นหนี้ต่อกัน กล่าวคือ พวงทองแท้มีหนี้ต้องชำระราคาที่ดิน ส่วนพิณทองชุบมีหนี้ต้องส่งมอบที่ดิน
{{cl|grey|{{fs|140%|'''นิติกรรม'''}}}} (legal transaction<ref>เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เช่น ชื่อหมวด 3 ในบรรพ 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 535 ว่า "Division 3 Legal Transactions" และประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 111 ว่า
 
หนี้ดังกล่าวนี้เกิดขึ้นได้จากเหตุสองประการ คือ นิติกรรม และนิติเหตุ เหตุทั้งสองนี้เรียกว่า "มูลหนี้" (source of obligation)
<blockquote>"Section 111 Unilateral legal transactions</blockquote>
 
'''[[นิติเหตุ]]''' (legal cause) คือ เหตุการณ์ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องกลายเป็นหนี้เพราะกฎหมายกำหนดไว้ ไม่ว่าเขาจะสมัครใจเป็นหนี้หรือไม่ก็ตาม เช่น นางสาวแพปลาใช้โทรจิตขณะขับรถยนต์อยู่บนทางด่วน จึงชนรถตู้โดยสารสาธารณะเข้าอย่างจัง และเป็นเหตุให้เก้าชีวิตต้องตาย ผู้คนอีกหกรายต้องบาดเจ็บ นางสาวแพปลาจึงมีหนี้ที่จะต้องใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย เพราะกฎหมายถือว่า เธอทำละเมิดต่อผู้เสียหาย ไม่ใช่เพราะเธอสมัครใจจะเป็นหนี้
 
{{cl|grey|{{fs|140%|ส่วน'''นิติกรรม'''}}}} (legal transaction<ref>"Legal transaction" เป็นศัพท์ที่ใช้อยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เช่น ชื่อหมวด 3 ในบรรพ 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 535 ว่า "Division 3 Legal Transactions" และประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 111 ว่า
<blockquote>"Section 111 Unilateral legal transactions</blockquote>
<blockquote>"A unilateral legal transaction that a minor undertakes without the necessary consent of the legal representative is ineffective. If the minor undertakes such a legal transaction with regard to another person with this consent, the legal transaction is ineffective if the minor does not present the consent in writing and the other person rejects the legal transaction for this reason without undue delay. Rejection is not possible if the representative had given the other person notice of the consent."</blockquote>
</ref> หรือ juristic act<ref>"Juristic act" เป็นศัพท์ที่ใช้อยู่ในกฎหมายญี่ปุ่น เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น และ ป.พ.พ. <br>90 ว่า
{{g}} เช่น ชื่อหมวด 5 ในภาค 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นว่า "Chapter V Juristic Acts" และประมวลกฎหมายญี่ปุ่น ม. 90 ว่า
 
<blockquote>"Article 90 (Public Policy)</blockquote>
 
<blockquote>"A juristic act with any purpose which is against public policy is void."</blockquote>
</ref>) นั้นอธิบายคร่าว ๆ ก่อนว่า ต่างจากนิติเหตุตรงที่เกิดจากความสมัครใจของผู้เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างพวงทองแท้กับพิณทองชุบข้างต้น คู่กรณีในนิติกรรมจะมีกี่ฝ่ายก็ได้ ถ้ามีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมนั้นเรียก '''สัญญา''' (contract)
 
การแบ่งแยกระหว่างนิติกรรมกับสัญญาเป็นแนวคิดซึ่งพัฒนาขึ้นในวงการนิติศาสตร์เยอรมัน และแพร่หลายมาถึงประเทศที่ใช้กฎหมายเยอรมันเป็นแม่แบบกฎหมายของตัว เช่น ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ขณะที่บางท้องที่ในโลก เช่น ประเทศฝรั่งเศส แม้ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ (civil law) เหมือนประเทศเยอรมัน แต่ก็ไม่รู้จักนิติกรรม ท้องที่เหล่านี้เรียกความผูกพันทำนองนิติกรรมว่า "สัญญา" ทั้งสิ้น ไม่แบ่งแยกเป็นนิติกรรมและสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญานั้นจะได้ว่ากันต่อไปภายหน้า
ขณะที่ชื่อลักษณะ 4 ในบรรพ 1 แห่ง ป.พ.พ. ว่า "Title IV Juristic Acts" (Kamol Sandhikshetrin, 2007: 39) และ ป.พ.พ. ม. 149 ว่า (Kamol Sandhikshetrin, 2007: 39)
 
สำหรับประเทศไทย '''กฎหมายนิติกรรมและสัญญา'''<ref>"กฎหมายนิติกรรมและสัญญา" บางทีเรียกเพียง "กฎหมายนิติกรรม" (law of legal transactions) หรือ "กฎหมายสัญญา" (law of contracts) ส่วนภาษาเก่าเรียก "กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา", "กฎหมายลักษณะนิติกรรม" หรือ "กฎหมายลักษณะสัญญา"</ref> (law of legal transactions and contracts) ปรากฏอยู่ใน ป.พ.พ. บ. 1 ล. 4 และ บ. 2 ล. 2 เป็นหลัก ส่วนในสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยทั่วไปนั้น ศึกษากฎหมายนิติกรรมและสัญญากันในปีแรก ถัดจากวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย และวิชากฎหมายบุคคล
<blockquote>"Juristic acts are voluntary lawful acts, the immediate purpose of which is to establish between persons juristic relations, to create, modify, transfer, preserve or extinguish rights."</blockquote>
</ref>) และ {{cl|grey|'''สัญญา'''}} (contract) เป็นความผูกพันของบุคคลในทางกฎหมาย เกิดขึ้นจากความสมัครใจของบุคคลเหล่านั้นเอง คู่กับ[[นิติเหตุ]] (legal cause) ซึ่งเป็นความผูกพันที่บุคคลมิได้สมัครใจให้เกิด แต่กฎหมายบัญญัติให้เกิด ทั้งนิติกรรมและนิติเหตุส่งผลให้บุคคลเป็น[[หนี้]]และมี[[หนี้/บทที่ 1#นิยาม|สิทธิเรียกร้อง]]
 
เพื่อประโยชน์ในการศึกษากฎหมายนิติกรรมและสัญญา ตำรานี้จึงแบ่งส่วนดังนี้
นิติกรรมและสัญญานั้นเป็นวิวัฒนาการของนิติทฤษฎีในกฎหมาย[[ระบบซีวิลลอว์]]แบบเยอรมัน ประเทศซีวิลลอว์ซึ่งอ้างอิงระบบกฎหมายเยอรมัน เช่น ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย จะมีนิติสัมพันธ์แบบนิติกรรมและสัญญา ขณะที่ในนิติทฤษฎีอื่นของระบบซีวิลลอว์ เช่น แบบฝรั่งเศส จะรู้จักแต่สัญญา ไม่มีการแบ่งแยกเป็นนิติกรรมและสัญญา ดังจะได้ศึกษากันต่อไปข้างหน้า อนึ่ง ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญญาในกฎหมาย[[ระบบคอมมอนลอว์]]ก็แตกต่างจากของระบบซีวิลลอว์พอสมควรด้วย
 
นิติกรรมและสัญญาตามระบบกฎหมายไทยอยู่ในบังคับแห่ง ป.พ.พ. บรรพ 1 หลักทั่วไป ลักษณะ 4 นิติกรรม และบรรพ 2 หนี้ ลักษณะ 2 สัญญา ซึ่งบางตำราเรียก "กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา" (Law of Legal Transactions and Contracts) หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า "กฎหมายลักษณะสัญญา" (Law of Contracts) จัดเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายแพ่ง
 
ในระบบการศึกษานิติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญานั้นร่ำเรียนกันถัดจาก[[ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย]] [[กฎหมายลักษณะบุคคล]] และ[[กฎหมายลักษณะหนี้]] ตามลำดับ
 
ตำรานี้ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญาตามกฎหมายแพ่งไทยเท่านั้น ไม่รวมถึง[[กฎหมายปกครอง]]และ[[กฎหมายระหว่างประเทศ]] และเพื่อประโยชน์ในการศึกษากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา ตำรานี้จึงแบ่งส่วนดังนี้
 
{{g|1.5em}} [[นิติกรรมและสัญญา/ภาคที่ 1|ภาคที่ 1]] {{g|0.5em}} บททั่วไป: ว่าด้วยนิยาม ลักษณะ ความเป็นมา ทฤษฎี หลักการ และประเภทของนิติกรรมและสัญญา
เส้น 46 ⟶ 41:
{{g|1.5em}} [[นิติกรรมและสัญญา/ภาคที่ 4|ภาคที่ 4]] {{g|0.5em}} ความคุ้มครองพิเศษ: ว่าด้วยกฎหมายพิเศษซึ่งให้ความคุ้มครองบุคคลในการทำนิติกรรมและสัญญาบางประเภท
 
อนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ตำรานี้ได้แทรกศัพท์กฎหมายและศัพท์อื่นที่เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นต่างประเทศไว้ด้วย ศัพท์เหล่านี้อ้างอิงโดยใช้ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ญี่ปุ่น หรือฝรั่งเศส ซึ่งเป็นแม่แบบ ป.พ.พ. เป็นหลัก กับทั้งยังแทรก ฎ. บางฉบับไว้ด้วย แต่พึงทราบว่า ในระบบซีวิลลอว์ซึ่งเป็นระบบกฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น คำพิพากษาไม่เป็นกฎหมาย เป็นเพียงการปรับใช้กฎหมายเป็นรายกรณีไปเท่านั้น
 
ตำรานี้ยังแทรก ฎ. บางฉบับไว้ด้วย แต่พึงทราบว่า ในระบบซีวิลลอว์ (civil law) ซึ่งเป็นระบบกฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น คำพิพากษาไม่เป็นกฎหมาย เป็นเพียงการปรับใช้กฎหมายเป็นรายกรณีไปเท่านั้น
 
== เชิงอรรถ ==
{{div col}}
 
{{reflist|3smr}}
{{div col end}}
 
== อ้างอิง ==
 
{{div col}}
 
=== ภาษาไทย ===
<div style="clear:both; font-size:90%">
 
* กฎหมายดีดี. (2555). [http://www.lawdd.net/petitionno?year=2554&type=1 ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2512 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
{{อ้างอิง/กฎหมายดีดี}}
* ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์.
{{อ้างอิง/พจน}}
* ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์.* (25542553). ''คำอธิบายนิติกรรม-นิติกรรม–สัญญา.'' (พิมพ์ครั้งที่ 1615). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 97861626901509789742889081.
** (2554). ''คำอธิบายนิติกรรม–สัญญา.'' (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9786162690150.
{{อ้างอิง/ฎีกา}}
* ศาลฎีกา. (2550-01-26). [http://www.deka2007.supremecourt.or.th/deka/web/search.jsp ''ระบบสืบค้นคำพิพากษาและคำสั่งคำร้องศาลฎีกา.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
{{อ้างอิง/ปพพ}}
* สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551-03-10). [http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.pdf ''ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
{{อ้างอิง/สศย}}
* สำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). [http://www.library.coj.go.th/Eb_Sentence/Sentence0.html ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-10).
</div>
 
=== ภาษาต่างประเทศ ===
<div style="clear:both; font-size:90%">
 
* Kamol Sandhikshetrin. (2007). ''The Civil and Commercial Code, Books I-VI, and Glossary.'' (8th ed). Bangkok: Nitibannakan. ISBN 9789744473493.
{{อ้างอิง/THCVC}}
* Langenscheidt Translation Service. (2011). [http://www.gesetze-im-internet.de/englisch_bgb/ ''German Civil Code.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
{{อ้างอิง/BGB}}
* Legifrance.
{{อ้างอิง/FCVC}}
** (2006-04-04). [http://www.legifrance.gouv.fr/content/download/1950/13681/version/3/file/Code_22.pdf ''French Civil Code.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
{{อ้างอิง/JCVC}}
** (2005-01-01). [http://www.legifrance.gouv.fr/content/download/1951/13685/version/5/file/Code_32.pdf ''French Commercial Code.''] [Online]. (Accessed: 2013-11-10).
 
** (2011-09-01). [http://www.legifrance.gouv.fr/affichCode.do;jsessionid=0B318A7293B7A6AB671B8A2491FB55A2.tpdjo17v_2?idSectionTA=LEGISCTA000006136539&cidTexte=LEGITEXT000006070721&dateTexte=20111213 ''Code civil des français'']. [En ligne]. (Accédé: 2013-11-10).
* Ministry of Justice of Japan. (2011). ''The Japanese Civil Code.'' [Online]. Available: [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=3 Parts 1–3] and [http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=civil+code&x=0&y=0&ky=&page=4 Parts 4–5]>. (Accessed: 2013-11-10).
</div>
{{div col end}}
 
----
{{ท้ายเรื่อง
| เส้น = #9984bc