ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 68:
2. {{g|0.5em}} อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (Convention relating to a Uniform Law on the Formation of Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า "ซีอัลฟ์" (C-ULF) {{ref label|reference_name_ฃ|ฃ|ฃ}}
 
อนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า '''อ.อนุสัญญากรุงเฮก''' (Hague Conventions) {{ref label|reference_name_ค|ค|ค}} อย่างไรก็ดี มีเพียงรัฐเก้ารัฐที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาทั้งสอง คือ แกมเบีย ซานมารีโน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก สหราชอาณาจักร อิตาลี และอิสราเอล<ref>Peter Schlechtriem and Ingeborg Schwenzer, 2005: 1; cited in Alysha Salinger, 2011: 3.</ref> โดยสหราชอาณาจักรยังตั้งข้อสงวนไว้ด้วยว่า จะไม่ผูกพันกับข้อบทบางข้อของอนุสัญญา<ref>Alysha Salinger, 2011: 3.</ref> ประกอบกับไม่มีประเทศกำลังพัฒนา (developing country) ได้เข้าร่วมในกระบวนการยกร่างเลย<ref name = "psch">Peter Schlechtriem, 1986: Online.</ref> เป็นเหตุให้ อ.เฮก ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร<ref name = "psch"/><ref>Alysha Salinger, 2011: 3-4.</ref>
 
=== อ.เวียนนา ===
บรรทัดที่ 100:
}}
 
เพราะจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ที่เป็นระเบียบเดียวกันสำหรับควบคุมการซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่อ อ.เฮกล้มเหลวก ล้มเหลว สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) จึงมีข้อมติที่ 2205 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (United Nations Commission om International Trade Law) หรือเรียกโดยย่อว่า "อันซิทร็อล" ({{uc|Uncitral}}) ขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) เพื่อ "ส่งเสริมการประมวลและสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายการค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง" (promote the progressive harmonization and unification of international trade law)<ref>Lex Mercatoria, 2010: Online.</ref>
 
อันซิทร็อลแต่งตั้งคณะทำงาน (Working Group) ขึ้นคณะหนึ่งเพื่อร่างกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการซื้อขายขึ้นจนสำเร็จเป็น "ร่างอนุสัญญาว่าด้วยการซื้อขาย" (Draft Convention on Sales) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976)<ref name = "psch"/> ต่อมา ในการประชุมอันซิทร็อลครั้งที่สิบ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ระหว่างเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) โดยที่ประชุมได้ตกลงรับร่างอนุสัญญาดังกล่าว คณะทำงานชุดนั้นจึงกลับไปปรับปรุงร่างอนุสัญญาเพิ่ม แล้วนำเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมอันซิทร็อลในการประชุมครั้งที่สิบเอ็ด ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978)<ref name = "psch"/> จากนั้น เลขาธิการสหประชาชาติจึงแจกจ่ายร่างฉบับหลังให้แก่รัฐบาลของประเทศสมาชิกสหประชาชาติเพื่อรับฟังความคิดเห็น<ref name = "psch"/>
บรรทัดที่ 386:
{{div col end}}
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ค|ค|ค}}}} เพื่อแยกแยะ นักกฎหมายบางคนเรียก "อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ" ว่า "อ.อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยซื้อขาย" (Hague Sales Convention) และเรียก "อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ" ว่า "อ.อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยก่อสัญญา" (Hague Formation Convention). (กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68).
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ฅ|ฅ|ฅ}}}} รัฐทั้งหกสิบสองที่เข้าร่วมประชุม (''ตัวเอียง'' คือ รัฐทั้งสิบที่งดออกเสียง) มีดังต่อไปนี้ (Peter Schlechtriem, 1986: Online)