ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 112:
อ.เวียนนา นับเป็นผลงานที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งของอันซิทร็อล รัฐซึ่งเห็นชอบในอนุสัญญานี้มาจาก "ทุกท้องที่ในทางภูมิศาสตร์ ทุกระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และทุกระบบหลักในทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจ"<ref>"Every geographical region, every stage of economic development and every major legal, social and economic system" (John Felemegas, 2000: 115).</ref> อนุสัญญานี้ยังได้รับการพรรณนาว่า เป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในวงการนิติบัญญัติ<ref>Joseph Lookofsky, 1991: 403.</ref> และเป็น "เอกสารระหว่างประเทศที่ได้รับความสำเร็จมากที่สุดในบัดนี้"<ref>"Most successful international document so far" (Bruno Zeller, 2007: 94).</ref> ด้วย
 
== การใช้อนุสัญญา อ.เวียนนา บังคับ ==
 
แน่นอนอยู่แล้วว่า อ.เวียนนา ใช้บังคับแก่สัญญา[[ซื้อขาย]] มิใช่สัญญาอื่นใด
บรรทัดที่ 267:
สาเหตุที่ไม่ใช้อนุสัญญาบังคับแก่เรื่องความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย เพราะถือว่า ความรับผิดดังกล่าวเป็น[[ความรับผิดเพื่อละเมิด]] (liability for tort) มิใช่[[ความรับผิดตามสัญญา]] (contractual liability)<ref name = "k 75"/>{{ref label|reference_name_ช|ช|ช}} แต่ก็มีกฎหมายบางประเทศ เช่น ประเทศฝรั่งเศส ที่จัดว่า ความรับผิดเกี่ยวกับสินค้าเป็นความรับผิดตามสัญญา อนุสัญญาจึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนว่า ไม่ให้ใช้อนุสัญญาบังคับแก่ความรับผิดชนิดนี้ เพราะถือเป็นความรับผิดเพื่อละเมิด<ref name = "k 75"/>
 
== หลักการสำคัญในอนุสัญญา อ.เวียนนา ==
 
{| class="toccolours" style="float: right; margin-left: 2em; margin-right: 1em; font-size: 85%; background:white; width:25em; max-width: 40%;" cellspacing="5"
บรรทัดที่ 286:
|}
 
=== การตีความอนุสัญญา อ.เวียนนา ===
 
อ.เวียนนา วางหลักเกณฑ์สำหรับการตีความอนุสัญญาเองเอาไว้ดังนี้