ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 3:
| พื้น = #a3bb6d
| ชื่อเรื่อง = [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ|{{cl|#d7efa8|กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ}}]]
| ชื่อเรื่องย่อย = {{cl|#685d33|อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา}}
| ก่อนหน้า = [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1|ภาคที่ 2 • บทที่ 1]] <br> [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1|หลักเกณฑ์ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา]]
| ถัดไป = [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 2|ภาคที่ 2 • บทที่ 1 • ส่วนที่ 2]] <br> [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 2|การก่อสัญญาซื้อขายตามอนุสัญญาฯ อ.เวียนนา]]
| หมายเหตุ =
}}
บรรทัดที่ 18:
{{c|{{fs|120%|'''2.1'''}}}}
 
{{c|{{fs|120%|'''หลักเกณฑ์ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา'''}}}}
 
 
{{c|'''2.1.1 อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา'''}}
 
{{สารบัญขวา}}
 
== ความเป็นมาของอนุสัญญา อ.เวียนนา ==
=== อนุสัญญากรุงอ.เฮก ===
 
{{qb
บรรทัดที่ 68:
2. {{g|0.5em}} อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (Convention relating to a Uniform Law on the Formation of Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า "ซีอัลฟ์" (C-ULF) {{ref label|reference_name_ฃ|ฃ|ฃ}}
 
อนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า '''อนุสัญญากรุงอ.เฮก''' (Hague Conventions) {{ref label|reference_name_ค|ค|ค}} อย่างไรก็ดี มีเพียงรัฐเก้ารัฐที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาทั้งสอง คือ แกมเบีย ซานมารีโน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก สหราชอาณาจักร อิตาลี และอิสราเอล<ref>Peter Schlechtriem and Ingeborg Schwenzer, 2005: 1; cited in Alysha Salinger, 2011: 3.</ref> โดยสหราชอาณาจักรยังตั้งข้อสงวนไว้ด้วยว่า จะไม่ผูกพันกับข้อบทบางข้อของอนุสัญญา<ref>Alysha Salinger, 2011: 3.</ref> ประกอบกับไม่มีประเทศกำลังพัฒนา (developing country) ได้เข้าร่วมในกระบวนการยกร่างเลย<ref name = "psch">Peter Schlechtriem, 1986: Online.</ref> เป็นเหตุให้อนุสัญญากรุงอ.เฮกไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร<ref name = "psch"/><ref>Alysha Salinger, 2011: 3-4.</ref>
 
=== อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ===
 
{{qb
บรรทัดที่ 77:
{{c|{{fs|90%|{{sc|UN General Assembly}}}}}}
<center>[http://www.jus.uio.no/lm/uncitral.2205-xxi/doc.html {{fs|85%|Resolution 2205 (XXI) of 17 December 1966}}]</center>
{{fs|85%|2. {{g|0.3em}} รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยกร่างอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา}}
{{c|{{fs|90%|{{sc|Peter Schlechtriem}}}} {{fs|85%| (1986):}}}}
<center>[http://www.cisg.law.pace.edu/cisg/biblio/schlechtriem.html {{fs|85%|''Uniform Sales Law - The UN-Convention on Contracts for the International Sale of Goods''}}]</center>
{{fs|85%|3. {{g|0.3em}} สถานะและรายชื่อรัฐภาคีอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ในปัจจุบัน}}
{{c|{{fs|90%|{{sc|Uncitral}}}} {{fs|85%| (2013):}}}}
<center>[http://www.uncitral.org/uncitral/en/uncitral_texts/sale_goods/1980CISG_status.html {{fs|85%|''Status: 1980 - United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods''}}]</center>
บรรทัดที่ 100:
}}
 
เพราะจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ที่เป็นระเบียบเดียวกันสำหรับควบคุมการซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่ออนุสัญญากรุงอ.เฮกล้มเหลว สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) จึงมีข้อมติที่ 2205 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (United Nations Commission om International Trade Law) หรือเรียกโดยย่อว่า "อันซิทร็อล" ({{uc|Uncitral}}) ขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) เพื่อ "ส่งเสริมการประมวลและสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายการค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง" (promote the progressive harmonization and unification of international trade law)<ref>Lex Mercatoria, 2010: Online.</ref>
 
อันซิทร็อลแต่งตั้งคณะทำงาน (Working Group) ขึ้นคณะหนึ่งเพื่อร่างกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการซื้อขายขึ้นจนสำเร็จเป็น "ร่างอนุสัญญาว่าด้วยการซื้อขาย" (Draft Convention on Sales) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976)<ref name = "psch"/> ต่อมา ในการประชุมอันซิทร็อลครั้งที่สิบ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ระหว่างเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) โดยที่ประชุมได้ตกลงรับร่างอนุสัญญาดังกล่าว คณะทำงานชุดนั้นจึงกลับไปปรับปรุงร่างอนุสัญญาเพิ่ม แล้วนำเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมอันซิทร็อลในการประชุมครั้งที่สิบเอ็ด ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978)<ref name = "psch"/> จากนั้น เลขาธิการสหประชาชาติจึงแจกจ่ายร่างฉบับหลังให้แก่รัฐบาลของประเทศสมาชิกสหประชาชาติเพื่อรับฟังความคิดเห็น<ref name = "psch"/>
บรรทัดที่ 108:
อนุสัญญาดังกล่าวมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ'''{{ref label|reference_name_ฆ|ฆ|ฆ}} (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า '''ซีไอเอสจี''' (CISG) แต่มักเรียกกันว่า '''อนุสัญญากรุงเวียนนา''' (Vienna Convention) เนื่องจากตกลงรับกันที่กรุงเวียนนา{{ref label|reference_name_ง|ง|ง}}
 
อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988)<ref>กิตติศักดิ์ ปรกติ, ม.ป.ป. (''อนุสัญญาว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศฯ''): ออนไลน์.</ref> ปัจจุบัน มีรัฐลงนามและให้สัตยบันในอนุสัญญากรุงยบันใน อ.เวียนนา แล้วจำนวนเจ็ดสิบแปดรัฐ รัฐเหล่านี้อนุสัญญาเรียกว่า '''รัฐผู้ทำอนุสัญญา''' (Contracting State){{ref label|reference_name_จ|จ|จ}} ส่วนรัฐที่ลงนามแล้วแต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบันมีจำนวนสิบเจ็ดรัฐ<ref name = "unc">{{uc|Uncitral}}, 2013: Online.</ref>
 
อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา นับเป็นผลงานที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งของอันซิทร็อล รัฐซึ่งเห็นชอบในอนุสัญญานี้มาจาก "ทุกท้องที่ในทางภูมิศาสตร์ ทุกระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และทุกระบบหลักในทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจ"<ref>"Every geographical region, every stage of economic development and every major legal, social and economic system" (John Felemegas, 2000: 115).</ref> อนุสัญญานี้ยังได้รับการพรรณนาว่า เป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในวงการนิติบัญญัติ<ref>Joseph Lookofsky, 1991: 403.</ref> และเป็น "เอกสารระหว่างประเทศที่ได้รับความสำเร็จมากที่สุดในบัดนี้"<ref>"Most successful international document so far" (Bruno Zeller, 2007: 94).</ref> ด้วย
 
== การใช้อนุสัญญาบังคับ ==
 
แน่นอนอยู่แล้วว่า อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ใช้บังคับแก่สัญญา[[ซื้อขาย]] มิใช่สัญญาอื่นใด
 
แต่ในอันที่จะนำอนุสัญญามาใช้นั้น มีข้อต้องพิจารณาอยู่สามประการ คือ เรื่องสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญา เรื่องความตกลงของคู่สัญญา และเรื่องลักษณะของสัญญา ถ้าเข้าหลักเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดแล้วก็อาจนำอนุสัญญามาใช้บังคับได้หรือมิได้ แล้วแต่กรณี
บรรทัดที่ 131:
{{g}} (3) {{g|0.3em}} ในการวินิจฉัยว่าจะใช้อนุสัญญานี้บังคับหรือไม่นั้น ห้ามมิให้คำนึงถึงสัญชาติของคู่สัญญา และลักษณะทางแพ่งหรือพาณิชย์ของคู่สัญญาหรือของตัวสัญญา
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 1'''{{ref label|reference_name_a|a|a}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} เพื่อประโยชน์แห่งอนุสัญญานี้
บรรทัดที่ 139:
{{g}} (2) {{g|0.3em}} ถ้าคู่สัญญาไม่มีสถานประกอบธุรกิจ ก็ให้อ้างถึงถิ่นที่เขาอยู่เป็นหลักแหล่งแทน
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 10'''{{ref label|reference_name_b|b|b}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} ปัญหาว่า จะพึงใช้กฎหมายใดบังคับสำหรับสิ่งซึ่งเป็นสาระสำคัญหรือผลแห่งสัญญานั้น ให้วินิจฉัยตามเจตนาของคู่กรณี ในกรณีที่ไม่อาจหยั่งทราบเจตนาชัดแจ้งหรือโดยปริยายได้ ถ้าคู่สัญญามีสัญชาติอันเดียวกัน กฎหมายที่จะใช้บังคับ ก็ได้แก่ กฎหมายสัญชาติอันร่วมกันแห่งคู่สัญญา ถ้าคู่สัญญาไม่มีสัญชาติอันเดียวกัน ก็ให้ใช้กฎหมายแห่งถิ่นที่สัญญานั้นได้ทำขึ้น
บรรทัดที่ 151:
|}
 
หลักเกณฑ์แรกสุดในการนำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา มาใช้บังคับนั้นว่าด้วยเรื่องสถานประกอบธุรกิจ (place of business) ของคู่สัญญาดังนี้
 
1. {{g|0.5em}} อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ก) กำหนดว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน และรัฐทั้งสองเป็นรัฐผู้ทำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ก็ให้นำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา มาใช้บังคับ<ref>กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 71-72.</ref>
 
2.{{g|0.5em}} อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ข) กำหนดอีกว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน แต่รัฐใดรัฐหนึ่งดังกล่าวนี้ไม่เป็นรัฐผู้ทำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ซึ่งทำให้ไม่เข้าเกณฑ์ตามอนุวรรค (ก) ข้างต้น และปรากฏว่า ตามหลักเกณฑ์ของ[[กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล]] เช่น หลักเกณฑ์เรื่อง[[การขัดกันของกฎหมาย]] (conflict of laws) แล้ว สามารถนำกฎหมายภายในของรัฐผู้ทำอนุสัญญารัฐใด ๆ มาใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายรายนี้ได้ ก็ให้นำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา มาใช้บังคับแทนกฎหมายดังกล่าว<ref>กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 72.</ref>
 
เช่น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 พจมาร สว่างพวง ซึ่งเปิดร้านขายอุปกรณ์คมนาคมอยู่ ณ บ้านทรายดอง กรุงเทพมหานคร ทำสัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมกับคุณชายกางซึ่งอยู่ตั้งบริษัทอยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ขณะนั้น ประเทศไทยยังไม่เป็นรัฐผู้ทำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา แต่ประเทศญี่ปุ่นเป็นแล้ว กรณีจึงไม่เข้าเกณฑ์ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ก) ที่จะสามารถนำอนุสัญญามาใช้บังคับได้
 
แต่ปรากฏว่า พจมารถือสัญชาติเกาหลีใต้ คุณชายกางก็ถือสัญชาติเกาหลีใต้ และประเทศเกาหลีใต้เป็นรัฐผู้ทำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา แล้ว เป็นเหตุให้สามารถนำกฎหมายของประเทศเกาหลีใต้มาใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายรายนี้ได้ เพราะพจมารอยู่ในประเทศไทย และกฎหมายไทย คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481 ม. 13 ว. 1 บัญญัติว่า ให้นำกฎหมายของประเทศที่คู่สัญญาถือสัญชาติร่วมกันมาใช้บังคับ ดังนี้ เมื่อสามารถนำกฎหมายเกาเหลีใต้มาใช้ได้ จึงเข้าเกณฑ์ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ข) ที่จะต้องนำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา มาใช้แทน สัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมระหว่างพจมารกับคุณชายกางจึงต้องอยู่ในบังคับแห่งอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา
 
เรื่องคู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ต่างรัฐกันนี้ คู่สัญญาต้องรู้หรือควรรู้กันอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในเวลาที่ทำสัญญา โดยอาจรู้ได้จากตัวสัญญาเองก็ดี จากธรรมเนียมการค้า (dealing) ระหว่างคู่สัญญาด้วยกันเองก็ดี หรือจากข้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่งคู่สัญญาเปิดเผยต่อกันก็ดี ตามความในอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ข. 1 ว. 2 แต่ถ้ามาทราบเรื่องดังกล่าวหลังทำสัญญาแล้ว แม้เข้าเกณฑ์ตาม ว. 1 ก็ต้องถือว่า นำอนุสัญญามาใช้บังคับไม่ได้<ref name = "k 73">กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 73.</ref>
 
ถ้าคู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจหลายแห่ง อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 10 (1) ว่า ให้ถือเอาแห่งที่ "เกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหนี้ตามสัญญานั้นมากที่สุด" (has the closest relationship to the contract and its performance) โดยให้พิจารณาจากพฤติการณทั้งหลายที่คู่สัญญาได้ทราบหรือหยั่งทราบได้ตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในขณะทำสัญญา
 
แต่ถ้าคู่สัญญาไม่มีสถานประกอบธุรกิจเลย อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 10 (2) ว่า ก็ให้หมายถึง "ถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง" (habitual residence) ของคู่สัญญาฝ่ายนั้น ๆ แทน
 
=== ความตกลงของคู่สัญญา ===
บรรทัดที่ 172:
| style = "text-align: left;" | {{g}} คู่สัญญาจะห้ามนำอนุสัญญานี้มาใช้บังคับก็ได้ หรือจะงดใช้หรือกำหนดให้แตกต่างออกไปซึ่งผลของข้อบทใด ๆ แห่งอนุสัญญานี้โดยอยู่ภายใต้บังคับแห่งข้อ 12 ก็ได้
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 6'''{{ref label|reference_name_c|c|c}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} ความใด ๆ ในข้อ 11 ข้อ 29 หรือภาค 2 แห่งอนุสัญญานี้ ที่ยอมให้ทำสัญญาซื้อขาย หรือให้ตกลงแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกสัญญานั้น หรือให้เสนอ สนอง หรือแสดงเจตนาอย่างอื่นในรูปแบบใด ๆ นอกเหนือไปจากการทำเป็นหนังสือได้นั้น ย่อมไม่ใช้บังคับถึงกรณีที่คู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐผู้ทำอนุสัญญานี้และได้ให้คำแถลงไว้ตามข้อ 96 แห่งอนุสัญญานี้แล้ว ห้ามมิให้คู่สัญญางดใช้หรือกำหนดให้แตกต่างออกไปซึ่งผลดังกล่าวหรือข้อบทข้อนี้
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 12'''{{ref label|reference_name_d|d|d}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} รัฐผู้ทำอนุสัญญานี้ซึ่งกฎหมายของตนกำหนดให้สัญญาซื้อขายต้องทำหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ จะทำคำแถลงตามข้อ 12 ณ เวลาใดก็ได้ว่า ความใด ๆ ในข้อ 11 ข้อ 29 หรือภาค 2 แห่งอนุสัญญานี้ ที่ยอมให้ทำสัญญาซื้อขาย หรือให้ตกลงแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกสัญญานั้น หรือให้เสนอ สนอง หรือแสดงเจตนาอย่างอื่นในรูปแบบใด ๆ นอกเหนือไปจากการทำเป็นหนังสือได้นั้น มิให้นำมาใช้บังคับแก่คู่สัญญาซึ่งมีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐตน
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 96'''{{ref label|reference_name_e|e|e}}
|-
|}
 
อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา นั้นร่างขึ้นเพื่อประมวลเอากฎหมายทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายระหว่างประเทศเข้าไว้และปรับให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้มีกฎหมายกลางซึ่งนำมาใช้แก่กรณีต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด ไม่ว่าคู่กรณีจะอยู่ในวัฒนธรรม สังคม หรือระบบกฎหมายแบบใดก็ตาม<ref name = "k 70">กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 70.</ref>
 
กระนั้น อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา มิได้ปฏิเสธ[[หลักเสรีภาพในการทำสัญญา]]อันเป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งในกฎหมายแพ่ง<ref name = "k 70"/> อนุสัญญา ข. 6 จึงอนุญาตให้คู่สัญญาสามารถตกลงกันว่า ในการซื้อขายระหว่างพวกตนนั้น (ก) มิให้นำอนุสัญญานี้มาใช้บังคับ, (ข) ให้งดใช้ผลของข้อบทข้อใด ๆ แห่งอนุสัญญา หรือ (ค) กำหนดให้ผลของข้อบทข้อใด ๆ แห่งอนุสัญญามีความแตกต่างจากที่ตราไว้แล้วก็ได้
 
แต่อนุสัญญา ข. 12 กำหนดว่า
บรรทัดที่ 215:
{{g}} (ฉ) {{g|0.3em}} ไฟฟ้า
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 2'''{{ref label|reference_name_f|f|f}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} (1) {{g|0.3em}} สัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผลิตของนั้นให้ถือเป็นการซื้อขาย เว้นแต่คู่สัญญาผู้สั่งของรับจะจัดหาส่วนสำคัญของวัสดุอันจำเป็นแก่การประดิษฐ์หรือผลิตเช่นว่านั้นเอง
บรรทัดที่ 221:
{{g}} (2) {{g|0.3em}} อนุสัญญานี้ไม่ใช้บังคับแก่สัญญาซึ่งคู่สัญญาผู้รับทำของนั้นมีหนี้ในส่วนสำคัญเป็นการจัดหาแรงงานหรือทำงานอย่างอื่น
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 3'''{{ref label|reference_name_g|g|g}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} อนุสัญญานี้ว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขาย กับทั้งสิทธิและหนี้ของผู้ขายและผู้ซื้อบรรดาซึ่งเกิดมีขึ้นแต่สัญญาเช่นว่านั้นเท่านั้น กล่าวโดยเฉพาะก็คือว่า ถ้าอนุสัญญานี้มิได้กำหนดไว้เป็นอื่นโดยแจ้งชัดแล้ว อนุสัญญานี้ย่อมไม่เกี่ยวข้องกับ
บรรทัดที่ 229:
{{g}} (ข) {{g|0.3em}} ผลซึ่งสัญญาพึงมีแก่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ซึ่งซื้อขาย
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 4'''{{ref label|reference_name_h|h|h}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} อนุสัญญานี้ไม่ใช้บังคับแก่ความรับผิดของผู้ขายเพื่อมรณะหรือความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคคลของผู้ใดอันเป็นผลมาจากทรัพย์
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 5'''{{ref label|reference_name_i|i|i}}
|-
|}
 
หลักเกณฑ์ประการสุดท้ายนั้นว่าด้วยลักษณะของสัญญาซื้อขาย มีทั้งกรณีที่ไม่ให้ใช้อนุสัญญากรุง อ.เวียนนา บังคับ และที่ให้นำไปใช้บังคับด้วย ดังนี้
 
1. {{g|0.5em}} '''วัตถุประสงค์แห่งการใช้สอย''' อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 2 (ก) ว่า ไม่ให้ใช้อนุสัญญาบังคับ ถ้าทรัพย์ซึ่งซื้อขายกันนั้นซื้อไปไว้ใช้สอยส่วนตัว ส่วนครอบครัว หรือส่วนครัวเรือน (for personal, family or household use) แต่ถ้าก่อนทำสัญญาซื้อขายหรือในเวลาทำสัญญาซื้อขายนั้น ผู้ขายไม่ทราบหรือไม่ควรจะได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการใช้สอยดังกล่าว ก็ให้นำอนุสัญญามาใช้ได้ เหตุที่อนุสัญญากรุง อ.เวียนนา กำหนดไว้ดังนี้ ก็เพื่อมิให้ขัดกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐผู้ทำอนุสัญญาเอง<ref>กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 74.</ref>
 
2. {{g|0.5em}} '''วิธีซื้อขาย''' อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 2 (ข) และ (ค) ว่า ไม่ให้ใช้อนุสัญญาบังคับแก่การซื้อขายซึ่งกระทำโดยวิธีพิเศษสามวิธี คือ การทอดตลาด (auction), การบังคับคดี (execution) และการอาศัยอำนาจอย่างอื่นตามกฎหมาย (otherwise by authority of law)
 
3. {{g|0.5em}} '''ทรัพย์ซึ่งซื้อขาย''' อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 2 (ง), (จ) และ (ฉ) ว่า ไม่ให้ใช้อนุสัญญาบังคับแก่การซื้อขายทรัพย์ดังต่อไปนี้
 
{{cl|white|3.}} {{g|0.5em}} ก. {{g|0.5em}} ทรัพย์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ทุน (stock), หุ้น (share), หลักทรัพย์ในการลงทุน (investment security), ตราสารเปลี่ยนมือ (negotiable instrument) และเงินตรา (money)
บรรทัดที่ 251:
{{cl|white|3.}} {{g|0.5em}} ค. {{g|0.5em}} ไฟฟ้า (electricity)
 
4. {{g|0.5em}} '''จ้างทำของและจ้างแรงงาน''' อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 3 ว่า นอกจากสัญญาซื้อขายโดยสภาพแล้ว ให้ใช้อนุสัญญาบังคับแก่สัญญา[[จ้างทำของ]] หรือที่อนุสัญญาเรียกว่า "สัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผลิตของ" (contract for supply of goods to be manufactured or produced) ด้วย ทั้งนี้ ต้องปรากฏว่า ผู้รับจ้างเป็นฝ่ายจัดหาวัสดุสำคัญในการทำของนั้นเอง
 
แต่อนุสัญญาจะไม่ใช้บังคับแก่การจ้างทำของ ถ้าผู้จ้างเป็นฝ่ายต้องจัดหาวัสดุดังกล่าว หรือถ้าผู้รับจ้างมีหน้าที่สำคัญเป็นการจัดหาแรงงานหรือทำงานอย่างอื่น (supply of labour or other services) ซึ่งจะกลายเป็นการ[[จ้างแรงงาน]]ไป เช่น "สัญญาซื้อขายสัตว์เลี้ยงซึ่งมีการว่าจ้างผู้เลี้ยงเพื่อให้มาช่วยดูแลสัตว์ในช่วงแรกเพื่อให้สัตว์ปรับตัวได้ หากการจ้างแรงงานดังกล่าวไม่ใช่ส่วนสำคัญของสัญญานี้ ก็ให้ถือว่า เป็นสัญญาซื้อขายตามอนุสัญญานี้"<ref name = "k 75">กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 75.</ref>
 
5. {{g|0.5em}} '''ขอบเขตของอนุสัญญา''' อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 4 และ 5 ว่า
 
{{cl|white|5.}} {{g|0.5em}} ก. {{g|0.5em}} อนุสัญญานี้ว่าด้วยเรื่องก่อสัญญาซื้อขาย และเรื่องสิทธิและหนี้ที่ผู้ขายกับผู้ซื้อมีอยู่ตามสัญญาซื้อขายเท่านั้น
บรรทัดที่ 274:
{{g}} (2) {{g|0.3em}} ปัญหาว่าด้วยเรื่องซึ่งอยู่ในบังคับแห่งอนุสัญญานี้แต่มิได้ปรากฏทางแก้ไว้ในอนุสัญญานี้โดยแจ้งชัดนั้น ให้วินิจฉัยตามหลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญานี้ หรือถ้าหลักเช่นว่านั้นหามิได้แล้ว ก็ให้เป็นไปตามกฎหมายที่สามารถนำมาใช้บังคับได้ตามหลักเกณฑ์แห่งกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 7'''{{ref label|reference_name_j|j|j}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} (1) {{g|0.3em}} เพื่อประโยชน์แห่งอนุสัญญานี้ ถ้อยคำหรือความประพฤติอย่างอื่นของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ให้ตีความตามเจตนาของคู่สัญญาฝ่ายนั้น ถ้าคู่สัญญาอีกฝ่ายทราบหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่รับทราบว่าเจตนาดังกล่าวนั้นเป็นเช่นไร
บรรทัดที่ 282:
{{g}} (3) {{g|0.3em}} ในการวินิจฉัยเจตนาของคู่สัญญาก็ดี หรือความเข้าใจที่วิญญูชนพึงมีก็ดี ให้พิจารณาบรรดาพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกรณีนั้นเป็นสำคัญ อันรวมถึง การเจรจา ระเบียบแบบแผนที่คู่สัญญาก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอง ธรรมเนียม และความประพฤติใด ๆ ที่คู่สัญญามีขึ้นในภายหลัง
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 8'''{{ref label|reference_name_k|k|k}}
|-
|}
บรรทัดที่ 288:
=== การตีความอนุสัญญา ===
 
อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา วางหลักเกณฑ์สำหรับการตีความอนุสัญญาเองเอาไว้ดังนี้
 
1. {{g|0.5em}} '''สัญชาติของคู่สัญญา''' อนุสัญญา ข. 1 ว. (3) ว่า ในการนำอนุสัญญาไปใช้บังคับ ไม่ต้องคำนึงถึงสัญชาติของคู่สัญญาซื้อขาย หมายความว่า ไม่ว่าคู่สัญญาซื้อขายจะมีสัญชาติต่างกันหรือไม่ ถ้าเข้าเกณฑ์ที่จะใช้อนุสัญญาบังคับได้ เช่น แม้สัญชาติเดียวกัน แต่มีสถานประกอบธุรกิจอยู่คนละรัฐกัน ก็เป็นอันใช้ได้
บรรทัดที่ 298:
{{cl|white|3.}} {{g|0.5em}} ก. {{g|0.5em}} [[ลักษณะระหว่างประเทศ]] (international character) และ
 
{{cl|white|3.}} {{g|0.5em}} ข. {{g|0.5em}} ความจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้อนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ได้รับการนำไปใช้บังคับอย่างเป็นระเบียบเดียวกัน และส่งเสริมให้ความสุจริตในการค้าระหว่างประเทศได้รับการถือปฏิบัติอย่างเป็นระเบียบเดียวกันด้วย
 
4. {{g|0.5em}} '''เจตนาของคู่สัญญา''' อนุสัญญา ข. 8 ว่า
บรรทัดที่ 310:
5. {{g|0.5em}} '''กฎหมายสำรอง''' อนุสัญญา ข. 7 ว. (2) ว่า เมื่อไม่มีข้อบทในอนุสัญญาสามารถนำมาใช้บังคับแก่กรณีใดโดยเฉพาะ ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตาม "หลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญานี้" (general principles on which it [this Convention] is based) และถ้าหาหลักทั่วไปนั้นไม่ได้แล้วด้วย ก็ให้อาศัยกฎหมายทั้งหลายที่จะนำมาใช้บังคับได้ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
 
ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีช่องว่างในอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ให้อุดช่องว่างนั้นด้วยหลักกฎหมายทั่วไป ถ้าไม่มีหลักกฎหมายทั่วไป ก็ให้อาศัยหลักกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและสอดคล้องกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ระหว่างประเทศ<ref>กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 76.</ref>
 
=== การยึดถือธรรมเนียมประเพณี ===
บรรทัดที่ 320:
 
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 9'''{{ref label|reference_name_l|l|l}}
|-
|}
 
อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ยอมรับธรรมเนียมตามปรกติในทางการค้า (normal usage of trade) เช่นเดียวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อื่น ๆ โดยทั่วไปดังนี้
 
1. {{g|0.5em}} อนุสัญญา ข. 9 ว. (1) กำหนดให้คู่สัญญาต้องปฏิบัติตาม
บรรทัดที่ 345:
| style = "text-align: left;" | {{g}} สัญญาซื้อขายนั้นไม่จำต้องทำเป็นหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ และไม่อยู่ในบังคับแห่งข้อกำหนดอื่นใดอันว่าด้วยแบบ การพิสูจน์สัญญานี้จะกระทำด้วยวิธีใดก็ได้ รวมถึงการใช้พยานบุคคล
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 11'''{{ref label|reference_name_m|m|m}}
|-
| style = "text-align: left;" | {{g}} เพื่อประโยชน์แห่งอนุสัญญานี้ "หนังสือ" หมายความรวมถึง โทรเลขและโทรพิมพ์
|-
| style = "text-align: right;" | '''อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ข. 13'''{{ref label|reference_name_n|n|n}}
|-
|}
 
อนุสัญญากรุงอ.เฮก ข. 11 อนุญาตว่า การซื้อขายตามอนุสัญญานี้ไม่จำต้องทำตาม[[แบบแห่งนิติกรรม|แบบ]] (form) ใด ๆ ทั้งสิ้น โดยเฉพาะแบบที่กำหนดให้สัญญาต้อง[[แบบเป็นหนังสือ|ทำเป็นหนังสือ]] นอกจากนี้ สัญญาก็ไม่จำต้องมี[[หลักฐานเป็นหนังสือ]]ด้วย ทั้งนี้ อนุสัญญา ข. 13 ว่า คำว่า "หนังสือ" ตามความอนุสัญญาให้หมายความถึง โทรเลข (telegram) และโทรพิมพ์ (telex) ด้วย
 
เมื่อสัญญาไม่จำต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้ว อนุสัญญา ข. 11 ยังอนุญาตด้วยว่า การพิสูจน์สัญญาจะทำอย่างไรก็ได้ รวมถึงจะเบิกพยานบุคคลมาพิสูจน์ก็ได้
บรรทัดที่ 361:
=== การรักษาสัญญา ===
 
แม้จะส่งเสริมให้การซื้อขายเป็นไปโดยสะดวก ไม่ต้องจำกัดอยู่กับแบบอย่างใด ๆ แต่อนุสัญญากรุง อ.เวียนนา ก็ป้องกันมิให้มีการเลิกสัญญาด้วยเหตุผลที่ไม่เป็นสาระสำคัญ และยังใช้ระบบเยียวยาซึ่งทำให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายมีสิทธิเรียกให้มีการเยียวยาเมื่ออีกฝ่ายผิดสัญญา และทำให้ฝ่ายที่ผิดสัญญาสามารถแก้ไขการผิดสัญญาของตนได้<ref>กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 78.</ref> ดังจะได้อธิบายกันในเรื่อง[[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 3|นิติสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา]]
 
{{clear}}
บรรทัดที่ 386:
{{div col end}}
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ค|ค|ค}}}} เพื่อแยกแยะ นักกฎหมายบางคนเรียก "อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ" ว่า "อนุสัญญากรุงอ.เฮกว่าด้วยซื้อขาย" (Hague Sales Convention) และเรียก "อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ" ว่า "อนุสัญญากรุงอ.เฮกว่าด้วยก่อสัญญา" (Hague Formation Convention). (กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68).
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ฅ|ฅ|ฅ}}}} รัฐทั้งหกสิบสองที่เข้าร่วมประชุม (''ตัวเอียง'' คือ รัฐทั้งสิบที่งดออกเสียง) มีดังต่อไปนี้ (Peter Schlechtriem, 1986: Online)
บรรทัดที่ 459:
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ฆ|ฆ|ฆ}}}} แปลมาอย่างอื่นก็มี เช่น "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ" (กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68) และ "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ระหว่างประเทศ" [กิตติศักดิ์ ปรกติ, ม.ป.ป. (''อนุสัญญาว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศฯ''): ออนไลน์].
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ง|ง|ง}}}} ระวังสับสนกับอนุสัญญาฉบับอื่นซึ่งทำขึ้น ณ กรุงเวียนนา และก็เรียก "อนุสัญญากรุงเวียนนา" เช่นกัน ฉบับที่โดดเด่นเป็นต้นว่า
* อนุสัญญากรุงเวียนนาเพื่อพิทักษ์ชั้นโอโซน (Vienna Convention for the Protection of the Ozone Layer),
* อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (Vienna Convention on the Law of Treaties),
* อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญาระหว่างรับกับองค์การระหว่างประเทศหรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศ (Vienna Convention on the Law of Treaties between States and International Organizations or Between International Organizations),
* และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยการค้ายาเสพติดและสารทางจิตเวชโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (Vienna Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances),
* อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล (Vienna Convention on Consular Relations)
* และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต (Vienna Convention on Diplomatic Relations)
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_จ|จ|จ}}}} ปรกติแล้ว "Contracting State" แปลว่า "รัฐผู้ทำสัญญา" หรือ "รัฐคู่สัญญา" แต่ในภาษาไทย ถ้าใช้เช่นนั้นอาจสร้างความสับสนว่าเป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายหรือคู่สัญญาซื้อขายได้ (ทั้งที่จริงแล้วเป็นผู้ทำอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา หรือเป็นคู่อนุสัญญากรุง อ.เวียนนา) จึงแปล "Contracting State" ว่า "รัฐผู้ทำอนุสัญญา".
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ฉ|ฉ|ฉ}}}} อนุสัญญากรุงอ.เวียนนา ใช้ทั้งคำว่า "ship" และ "vessel" คำทั้งสองนี้ปรกติแล้วมีความหมายว่า เรือ เหมือนกัน และยังไม่ปรากฏว่ามีนักนิติศาสตร์อธิบายว่า "ship" กับ "vessel" ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา มีความหมายต่างกันอย่างไร ในที่นี้จึงแปล "ship" ว่า เรือ และ "vessel" ว่า เครื่องเดินท้องน้ำ เพราะในทางนาวิกศาสตร์
* คำว่า "ship" หมายถึง เรือซึ่งมีเสา (mast) สามเสาหรือมากกว่านั้น แต่ละเสาขึงผ้าใบสี่เหลี่ยม (square-rigged) และยังมีผ้าใบเล็ก (jib) มีผ้าใบขึงระหว่างเสา (staysail) และที่เสากระโดงเสาท้ายสุดมีผ้าใบปีก (spanker) ด้วย ("ship", 2013: Online)
* ส่วน "vessel" นั้นหมายถึง ยานพาหนะทุกประเภทสำหรับใช้เดินท้องน้ำ (a craft for traveling on water) ("vessel", 2013: Online).
เส้น 570 ⟶ 576:
| เส้น = #aeb8a4
| พื้น = #cad5ab
| ก่อนหน้า = [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1|ภาคที่ 2 • บทที่ 1]] <br> [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1|หลักเกณฑ์ตามอนุสัญญากรุง อ.เวียนนา]]
| ถัดไป = [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 2|ภาคที่ 2 • บทที่ 1 • ส่วนที่ 2]] <br> [[กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ภาคที่ 2/บทที่ 1/ส่วนที่ 2|การก่อสัญญาซื้อขายตามอนุสัญญาฯ อ.เวียนนา]]
}}
{{กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ}}