ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จัดการงานนอกสั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 16:
{{cl|#ff8e5c|{{fs|140%|'''จัดการงานนอกสั่ง'''}}}} (agency without specific authorisation,{{ref label|reference_name_ก|ก|ก}} voluntary agency,{{ref label|reference_name_ข|ข|ข}} management of business of another,{{ref label|reference_name_ฃ|ฃ|ฃ}} undertaking formed without agreement{{ref label|reference_name_ค|ค|ค}} หรือ management of affairs without mandate{{ref label|reference_name_ฅ|ฅ|ฅ}} หรือภาษาละตินว่า ''negotiorum gestio'') เป็น[[นิติเหตุ]]ประเภทหนึ่ง โดยเป็นกรณีที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี เป็นเหตุให้บุคคลทั้งสองนี้เกิดสิทธิและหน้าที่ต่อกันตามที่กฎหมายบัญญัติ แม้อันที่จริงแล้ว เขาอาจไม่ประสงค์จะผูกความสัมพันธ์กันในทางกฎหมายเลยก็ตาม
 
สำหรับกฎหมายไทย กฎหมายอันว่าด้วยการจัดการงานนอกสั่งปรากฏปรากฏอยู่ใน ป.พ.พ. บ. 2 ล. 3 ซึ่งบางตำราเรียกว่า "กฎหมายลักษณะจัดการงานนอกสั่ง" (Lawlaw of Agencyagency without Specificspecific Authorisationauthorisation หรือ Lawlaw of ''Negotiorumnegotiorum Gestiogestio'')
 
กฎหมายลักษณะจัดการงานนอกสั่งนั้นมีขึ้นเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่บุคคลทั้งสองดังกล่าว เพราะเมื่อบุคคลมีน้ำใจช่วยเหลือกิจการของผู้อื่นเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นแล้ว ก็ไม่ควรให้เขาเสียแรงเปล่า จึงกำหนดให้มีสิทธิมีหน้าที่ต่าง ๆ เกิดขึ้นในระหว่างเขาเหล่านั้น แต่ก็ไม่ควรให้กิจการของผู้เป็นเจ้าของตัวจริงต้องเสียหาย จึงกำหนดให้บุคคลผู้เข้ามาจัดการต้องระวังรักษาประโยชน์ของตัวการ เป็นต้น<ref>ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์ (2553: 379) ว่า