ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติเหตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 22:
:# บุคคลสถานะ (personal status) เช่น หน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร หรือหน้าที่ของคู่สมรส
 
นิติเหตุเป็นหลักกฎหมายในระบบซีวิลลอว์<ref>J.A. Crook. (1984). ''Law and Life of Rome, 90 B.c.–a.d. 212.'' Ithaca, New York: Cornell University Press. IBSN: 9780801492730. pp. 236-237.</ref> ตรงกับเรื่อง'''สัญญาเสมือน''' (quasi-contract, implied-in-law contract หรือ constructive contract)<ref>ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติคำ "quasi-contract" ว่า "คล้ายสัญญา" และ "constructive contract" ว่า "สัญญาที่เกิดขึ้นโดยผลแห่งกฎหมาย" ([ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). [http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ''ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14)].)</ref> ในระบบคอมมอนลอว์<ref>W. W. Buckland & Arnold D. McNair. (1952). [http://ebooks.cambridge.org/chapter.jsf?bid=CBO9780511561061&cid=CBO9780511561061A085 ''Roman Law and Common Law.''] London: Cambridge University Press. [Online]. (Accessed: 2013.02.14). p. 111.</ref>
 
ในการศึกษานิติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย นิติเหตุเป็นวิชาที่เรียก "กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้" ซึ่งมักเล่าเรียนกันในปีที่สอง ถัดจาก [[ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย]] [[กฎหมายลักษณะบุคคล]] [[กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป]] และ[[กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา]] ตามลำดับ