ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติเหตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 18:
นิติเหตุแบ่งเป็นสี่อย่าง คือ<ref name = "c 22"/>
 
{{g|1.5em}} 1. {{g|0.5em}} [[ละเมิด]] (tort) เป็นการจงใจหรือประมาทเลินเล่อทําต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิ
 
{{g|1.5em}} 2. {{g|0.5em}} [[จัดการงานนอกสั่ง]] (agency without specific authorisation) เป็นการที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี
 
{{g|1.5em}} 3. {{g|0.5em}} [[ลาภมิควรได้]] (unjust enrichment) เป็นการที่บุคคลได้ทรัพย์สินงอกเงยขึ้นมาจากมูลเหตุที่ไม่มีกฎหมายรองรับ และ
 
{{g|1.5em}} [[4. {{g|0.5em}} บุคคลสถานะ]] (personal status) เช่น หน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร หรือหน้าที่ของคู่สมรส
 
ในการศึกษานิติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย นิติเหตุนั้นเป็นวิชาที่เรียก "กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้" ซึ่งมักเล่าเรียนกันในปีที่สอง ถัดจาก [[ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย]] [[กฎหมายลักษณะบุคคล]] [[กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป]] และ[[กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา]] ตามลำดับ