ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/กฎหมาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 157:
|-
|}
 
<!--
== วิชาเลือก ==
 
'''วิชาเลือก''' เป็นวิชาที่ผู้ศึกษากฎหมายระดับปริญญาตรีในคณะนิติศาสตร์ไทยสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจในระหว่างศึกษาวิชาบังคับตลอดระยะเวลาสี่ปีนั้น เรียกกันตามหลักสูตรสถาบันอุดมศึกษาทั่วไปว่า "วิชาเลือกเสรี" (elective subject)
 
ทั้งนี้ ในระบบการศึกษาไทยนั้น แม้วิชาเหล่านี้จะชื่อว่าเลือกเสรี แต่ก็มักกำหนดให้ต้องเรียนเพื่อสะสมหน่วยกิตจำนวนหนึ่ง เช่น บางสถาบันให้เลือกเรียนวิชาเลือกเสรีรวมกันอย่างน้อยยี่สิบสี่หน่วยกิต จึงจะสำเร็จหลักสูตร
 
วิชาเลือกมีดังต่อไปนี้
 
{| width="100%" class="wikitable" style="text-align:left"
เส้น 171 ⟶ 167:
! ตำรา
! เนื้อหา
! หมายเหตุ
! ปีที่ศึกษา
|-
| align = "center" colspan="30" bgcolor="#cecece"|{{color|grey|'''พื้นฐานกฎหมายมหาชน'''}}
|-
| 1
| [[สิทธิขั้นพื้นฐาน]] <br> (Fundamental Rights)
| [[ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย]] <br> (Introduction to Law and Legal System) <br> {{fs|85%|บางสถาบันเรียก "กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป"}} <br> {{fs|85%|(Introduction to Civil Law)}}
| ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจนสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญไทย
| ความหมาย บ่อเกิด วิวัฒนาการ ประเภท วิธีใช้ และทัศนคติเกี่ยวกับกฎหมาย
|
| bgcolor = #ffe3f0 | {{c|1}}
|-
| 2
-->
| [[ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ]] <br> (Constitutional Court and Procedure)
| ประวัติศาสตร์และความคิดเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ ตลอดจนภารกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ วิธีพิจารณา ผลการพิจารณา และการบังคับตามผลการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทย
| ควรศึกษา[[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]]และ[[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]]มาก่อน
|-
| 3
| [[การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ]] <br> (Control of Exercise of State Power)
| การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ โดยสถาบันซึ่งมิใช่ศาล (เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ฯลฯ) และโดยประชาชน
| rowspan = "4" | ควรศึกษา[[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]]มาก่อน
|-
| 4
| [[เจ้าหน้าที่ของรัฐ]] <br> (Public Authorities)
| ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทต่าง ๆ เช่น ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ฯลฯ เป็นต้นว่า การได้มาซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐ สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับทั้งวินัย การลงโทษ และการเรียกค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
|-
| 5
| [[เศรษฐศาสตร์มหาชน]] <br> (Public Economics)
| ความเป็นมา หลักเกณฑ์ และมาตรการของการที่รัฐเข้าควบคุมและดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
|-
| 6
| [[สวัสดิการสังคม]] <br> (Social Welfare)
| ความเป็นมา แนวคิด หลักการ หลักเกณฑ์ และนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม เช่น ลูกจ้าง ครอบครัว สตรี เยาวชน คนชรา คนพิการ ฯลฯ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
|-
|}
 
[[หมวดหมู่:กฎหมาย]]